Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72342
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนพภาพร พานิช-
dc.contributor.advisorประธาน อารีพล-
dc.contributor.authorจิณัฐตา วัดคำ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-02-22T05:58:23Z-
dc.date.available2021-02-22T05:58:23Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9743472983-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72342-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้ได้มุ่งเน้นเรื่องการสูญเสียการได้ยินของช่างซ่อมเครื่องบิน 5 ประเภท ได้แก่ ๆ ช่างซ่อมเครื่องบินไอพ่น ช่างซ่อมเครื่องบินใบพัดขนาดเล็ก ช่างซ่อมเครื่องบินใบพัดขนาดกลางช่าซ่อมเครื่องบินใบพัดขนาดใหญ่ และช่างซ่อมเครื่องบินเฮลิคอปเตอร์ จำนวนทั้งสิ้น 94 คน ที่ปฏิบัติงานในกองบิน 6 (ดอนเมือง) และมีอายุระหว่าง 25-40 ปี โดยทำการตรวจวัดระดับการได้ยินและตรวจวัดระดับเสียงของเครื่องบิน A310, T-41D, G-222, C-130H และ UH-1H ที่เป็นตัวแทนของเครื่องบินประเภทต่าง ๆ ตามสำดับ รวมทั้งระดับเสียงในสถานที่ปฏิบัติงานของช่างซ่อมเครื่องบินทั้ง 5 ประเภท ผลการศึกษาพบว่า เสียงของเครื่องบินมีความสัมพันธ์ต่อระดับการได้ยินของช่างซ่อมเครื่องบิน ซึ่งแม้ว่าขีดเริ่มการได้ยินของช่างซ่อมเครื่องบินทุกประเภท จะไม่เกินมาตรฐานระดับการได้ยินปกติ แต่ก็พบว่ามีการสูญเสียการได้ยินเกิดขึ้นที่ความถี่ระหว่าง 500-8000 เฮิรตซ์ ในช่างซ่อมเครื่องบินไอพ่น ช่างซ่อมเครื่องบินใบพัดขนาดเล็ก ช่างซ่อมเครื่องบินใบพัดขนาดกลาง ช่างซ่อมเครื่องบินใบพัดขนาดใหญ่ ช่างซ่อมเครื่องบินเฮลิคอปเตอร์ จำนวนร้อยละ 41.7, 20.8, 26.3, 36.4 และ 40.0ของช่างซ่อมเครื่องบินประเภทต่าง ๆ ตามลำดับ และความถี่ที่พบว่ามีการสูญเสียการได้ยินมากที่สุด คือ ความถี่ 6000 เฮิรตซ์ เมื่อเปรียบเทียบระดับการได้ยินของช่างซ่อมเครื่องบินประเภทต่าง ๆ กับกลุ่มควบคุมจะเห็นได้ว่า ช่างซ่อมเครื่องบินทุกประเภทมีขีดเริ่มการได้ยินสูงกว่ากลุ่มควบคุมและช่างซ่อมเครื่องบินประเภทต่าง ๆ มีขีดเริ่มการได้ยินไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ในการศึกษาครั้งนี้ ไม่พบว่าช่างซ่อมเครื่องบินมีการสูญเสียการได้ยินเกิดขึ้นในช่วงความถี่ของการสนทนา คือ ระหว่าง 500-2000 เฮิรตซ์ โดยปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับระดับการได้ยินของช่างซ่อม เครื่องบิน ได้แก่ อายุ และระยะเวลาในการทำงานen_US
dc.description.abstractalternativeThis study empharizes on noise-induced hearing loss of aircraft mechanics who repaired jet aircraft (A310), light propeller aircraft (T-41D), medium propeller aircraft (G-222), heavy propeller aircraft (C-130H) and helicopter (UH-1H). The audiological analysis was conducted for 94 aircraft mechanics who worked at Wing 6, Royal Thai Air Force. The noise levels were measured for five types of aircraft and in their workplaces. The result indicates that hearing thresholds of aircraft mechanics were significantly related to aircraft noise (X2 = 11.95, p < 0.05). Although average of hearing threshold of aircraft mechanics was not found to be higher than normal hearing threshold but there were incidences of hearing loss among jet, light propeller, medium propeller, heavy propeller and helicopter mechanics in range of 500-8000 Hz at 41.7, 20.8, 21.1, 36.4 and 40.0 percent of each type respectively. The ability to hear at 6000 Hz was the most impaired. The comparison of hearing threshold between each type of aircraft mechanics and control group showed that all types of aircraft mechanics had higher hearing threshold than control group and there was no significantly different between each type of aircraft mechanics. There was no incidence of hearing loss in the range of speech frequencies (500-2000 Hz). Age and time duration of work were likely to affect hearing threshold of aircraft mechanics.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectมลพิษทางเสียงen_US
dc.subjectหูหนวกจากเสียงen_US
dc.subjectช่างซ่อมเครื่องบิน -- ไทยen_US
dc.subjectเครื่องบิน -- เสียงen_US
dc.titleการสูญเสียการได้ยินเนื่องจากเสียงของช่างซ่อมเครื่องบินen_US
dc.title.alternativeNoise-induced Hearing loss in aircraft mechanicsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์สภาวะแวดล้อม (สหสาขาวิชา)en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisor[email protected]-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Jinutta_wa_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ817.84 kBAdobe PDFView/Open
Jinutta_wa_ch1_p.pdfบทที่ 1668.04 kBAdobe PDFView/Open
Jinutta_wa_ch2_p.pdfบทที่ 21.24 MBAdobe PDFView/Open
Jinutta_wa_ch3_p.pdfบทที่ 3790.53 kBAdobe PDFView/Open
Jinutta_wa_ch4_p.pdfบทที่ 41.64 MBAdobe PDFView/Open
Jinutta_wa_ch5_p.pdfบทที่ 51.54 MBAdobe PDFView/Open
Jinutta_wa_ch6_p.pdfบทที่ 6656.31 kBAdobe PDFView/Open
Jinutta_wa_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก1.82 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.