Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72345
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุวัฒนา สุวรรณเขตนิคม-
dc.contributor.authorสกาวรัตน์ ชุ่มเชย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2021-02-22T06:24:43Z-
dc.date.available2021-02-22T06:24:43Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9741310692-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72345-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพี่อศึกษาสภาพปัจจุบันปัญหา ความต้องการ และแนวทางการทำวิจัยปฏิบัติการ และนำเสนอรูปแบบการวิจัยปฏิบัติการสำหรับการพัฒนาครูประถมศึกษาโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานวิธีวิจัยเชิงคุณภาพที่ใช้ประกอบด้วย การศึกษาเอกสารและสื่อวีดีทัศน์ การสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ และการศึกษา ภาคสนาม จากกรณีศึกษาโรงเรียนประถมศึกษา 3 แห่ง การสร้างและนำเสนอรูปแบบการวิจัยปฏิบัติการ และการตรวจสอบรูปแบบการวิจัยปฏิบัติการโดยการสนทนากลุ่มกับคณะครู และตรวจสอบโดยผู้เชี่ยวชาญ ผลการวิจัยพบว่า 1.ในสภาพปัจจุบันลักษณะการทำวิจัยปฏิบัติการมีทั้งแบบทำคนเดียว และทำเป็นทีม ทั้งภายในโรงเรียนและกับบุคคลภายนอกโรงเรียน ประเด็นการวิจัยส่วนใหญ่เกี่ยวกับทักษะการคิดในวิชาคณิตศาสตร์ ทักษะการสื่อสารในภาษาไทยและปัญหาพฤติกรรมของนักเรียน วิธีการวิจัยที่ครูใช้ คือ การสำรวจ การศึกษารายกรณี การวิจัยแบบกึ่งทดลองและการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ปัญหาในการทำวิจัย คือ ครูยังขาดความรู้ ความเข้าใจและการช่วยเหลือจากหน่วยงาน ครูมองวิจัยเป็นเรื่องยาก ไม่มีเวลาและภาระงานครูมาก ครูต้องการการสนับสนุนด้าน 1) การอบรม 2) ตัวอย่างผลงานการทำวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนที่หลากหลาย 3) ที่ปรึกษาและผู้นิเทศติดตามด้านการวิจัย 4) การสนับสนุนด้านปัจจัยจากโรงเรียนโดยเฉพาะเรื่อง นโยบาย การจัดเวลา สื่อ วัสดุอุปกรณ์และการจัดกิจกรรมส่งเสริมการวิจัย 2. รูปแบบการวิจัยปฏิบัติการสำหรับการพัฒนาครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานควรเป็นโปรแกรมการวิจัยที่มีคำถาม กิจกรรมการวิจัยต่อเนื่องเรียงร้อยไปเพี่อสร้างเสริมการเรียนรู้และการสร้างความรู้อย่างต่อเนื่องของครูโปรแกรมการวิจัยควรประกอบด้วย 3 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การวิจัยปฏิบัติการเพี่อการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล ระยะที่ 2 การวิจัยปฏิบัติการเพี่อประเมินการสอนของครู ระยะที่ 3 การวิจัยปฏิบัติการเพี่อสร้างและพัฒนานวัตกรรมในการสอนen_US
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study state, problems, needs and ways to do action research and to purpose an action research model for school based teacher development. The qualitative approach was employed. The research activities composed of (1) a study of document and video (2) expert interview (3) a multiple case study of 3 elementary schools (4) constructing a model (5) focus group meeting and expert interview for model justification. The research findings were as follows : 1. The existing action researches were done by an individual teacher and a team of teacher. The research issues related to thinking skills in mathematics and communication skills in Thai subjects and student’s problem behaviors. The employed research methods were a survey, a case study, Quasi-Experimental study and a research and development of an innovation. Problems of doing action researchs were lacking of knowledge and understanding about the action research methodology and lacking of time to do research. Teachers needed supports in (1) training (2) materials that showed various examples of action research reports (3) advisors and supervisors (4) school supports in research policy, time arrangement, media and research related activities. 2. The proposed model of action research for school based teacher development was a continuous-three steps-research program. The first stage focused in action research for getting to know individual students. The second stage focused in action research for Self evaluation in teaching And the third stage focused in action research for innovation development.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectวิจัยปฏิบัติการen_US
dc.subjectครูen_US
dc.titleการนำเสนอรูปแบบการวิจัยปฏิบัติการ สำหรับการพัฒนาครูประถมศึกษาโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานen_US
dc.title.alternativeA proposed action research model for school-based elementary school teacher developmenten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิจัยการศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisor[email protected]-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sakaowrat_ch_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ845.53 kBAdobe PDFView/Open
Sakaowrat_ch_ch1_p.pdfบทที่ 1826.69 kBAdobe PDFView/Open
Sakaowrat_ch_ch2_p.pdfบทที่ 22.27 MBAdobe PDFView/Open
Sakaowrat_ch_ch3_p.pdfบทที่ 3876.11 kBAdobe PDFView/Open
Sakaowrat_ch_ch4_p.pdfบทที่ 41.13 MBAdobe PDFView/Open
Sakaowrat_ch_ch5_p.pdfบทที่ 53.69 MBAdobe PDFView/Open
Sakaowrat_ch_ch6_p.pdfบทที่ 6940.15 kBAdobe PDFView/Open
Sakaowrat_ch_ch7_p.pdfบทที่ 71.06 MBAdobe PDFView/Open
Sakaowrat_ch_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก2.36 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.