Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/739
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorเทียนฉาย กีระนันทน์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเศรษฐศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2006-07-12T11:55:31Z-
dc.date.available2006-07-12T11:55:31Z-
dc.date.issued2527-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/739-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ประสงค์จะทดสอบการประยุกต์ทฤษฎีเศรษฐสาสตร์ครัวเรือนใหม่ในการอธิบายพฤติกรรมการเจริญพันธุ์ของสตรีไทยอีกครั้งหนึ่ง ในขณะเดียวกันก็ได้ศึกษาด้วยว่าการเปลี่ยนแปลงภาวะเจริญพันธุ์ของสตรีไทยที่ได้ลดลงอย่างมากในช่วงระยะเวลา 10 ปีระหว่าง 2512-2522 นั้นเป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงในอิทธิพลของปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดพฤติกรรมการเจริญพันธุ์เอง โดยเฉพาะปัจจัยทางเศรษฐกิจนั้นหรือไม่และอย่างไร การวิจัยได้ใช้ข้อมูลจากการสำรวจภาวะเจริญพันธุ์ ภาวการณ์ตาย และการวางแผนครอบครัวในปี 2522 เป็นหลักในการวิเคราะห์พฤติกรรมการเจริญพันธุ์ในปี 2522 และเปรียบเทียบกับผลการวิเคราะห์พฤติกรรมการเจริญพันธุ์จากข้อมูลปี 2512-2513 และ 2514-2515 ที่ได้วิจัยและเผยแพร่ผลการวิจัยนั้นไว้แต่เดิมแล้ว ซึ่งเรียกได้ว่าเป็นการวิเคราะห์เปรียบเทียบสถิตโดยวิธีการวิเคราะห์ถดถอยประกอบกับการวิเคราะห์เส้นทาง ผลการวิจัยครั้งนี้ปรากฏชัดว่าในช่วงระยะเวลา 10 ปีนั้น ครอบครัวไทยได้คำนึงถึงการเลือกทดแทนกันระหว่างจำนวนบุตรกับคุณภาพของบุตรอย่างชัดเจน ทั้งนี้โดยปรับพฤติกรรมที่จะเลือกมีบุตรน้อยคนลง และเลือกที่จะให้บุตรแต่ละคนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ส่วนปัจจัยเศรษฐกิจอื่น ๆ ยังคงมีบทบาทต่อพฤติกรรมการเจริญพันธุ์เหมือนเดิมen
dc.description.abstractalternativeThis study aimed to test the applicability of the New Home Economics Model in explaining Thai fertility behavior. Attempts had been made also to see how the change in fertility behavior during a decade of 1969-1979 could be explained by the change in its determinants particularly the growth in economic factors. The study used the data from the National Survey of fertility, Mortality and Family Planning in 1979 to analyse the cross-sectional fertility behavior in 1979. The results were then compared with those obtained for the year 1969-1970 and 1972-1973 from the earlier study. The method used simply a comparative-static with multiple regression and path analysis technique as statistical tools. The results clearly showed significant changes in the parents' substitution between child quantity and quality. Thai family chose to have smaller size while increasing their children's quality of life. Other economic factors still maintained their influence upon fertility during the decade under study.en
dc.format.extent12899913 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectภาวะเจริญพันธุ์--ไทยen
dc.subjectการวางแผนครอบครัว--ไทยen
dc.subjectเด็ก--การตายen
dc.titleอุปสงค์ต่อบุตร : การเปลี่ยนแปลงในช่วงทศวรรษen
dc.typeTechnical Reporten
dc.email.author[email protected]-
Appears in Collections:Econ - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thienchay(aim).pdf4.69 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.