Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74616
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวันชัย ริจิรวนิช-
dc.contributor.authorธีรพัฒน์ เอื้ออารักษ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-07-21T08:12:14Z-
dc.date.available2021-07-21T08:12:14Z-
dc.date.issued2540-
dc.identifier.isbn9746382306-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74616-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540en_US
dc.description.abstractปัจจุบันความต้องการใช้ที่เพิ่มขึ้นของเครื่องคอมพิวเตอร์ในองค์กรโดยทั่วไป ทำให้มีการผลิตผลิตภัณฑ์ คอมพิวเตอร์รุ่นใหม่ ๆ ออกมาสู่ตลาดอย่างรวดเร็ว จึงเกิดความจำเป็นในการจัดเก็บชิ้นส่วนเครื่องคอมพิวเตอร์มากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดปัญหาต่อการจัดการคลังชิ้นส่วน เช่นการสั่งซื้อ การรับและการจัดเก็บ การเบิก การคืน การจัดส่ง วิทยานิพนธ์นี้ได้ศึกษาการจัดการคลังชิ้นส่วนของบริษัทคอมพิวเตอร์แห่งหนึ่งในประเทศไทย การศึกษาได้เสนอ แนวทางการปรับปรุงการจัดการคลังชิ้นส่วนโดยเลือกชิ้นส่วนของเครื่องคอมพิวเตอร์ 5 ประเภท เพื่อแสดงการลดค่าใช้จ่ายของระบบคลังชิ้นส่วนโดยการใช้ระบบปริมาณสั่งซื้อแบบปริมาณสั่งซื้อคงที่ มีผลทำให้สามารถลดการขาดแคลนชิ้นส่วนโดยเฉลี่ยจาก 39 ชิ้นต่อเดือน เหลือ 10 ชิ้นต่อเดือน และมีค่าใช้จ่ายลดลง 446,954.4 บาทต่อปี นอกจากนี้การปรับปรุงระบบการรับและการจัดเก็บ การเบิก และการคืน เป็นผลให้ลดความผิดพลาดของข้อมูลจำนวนชิ้นส่วนที่แสดงในระบบคอมพิวเตอร์ และลดเวลา รอคอยการเบิกอะไหล่โดยเฉลี่ยจากเดิม 48.3 นาทีต่อครั้ง เป็น 19.4 นาทีต่อครั้ง-
dc.description.abstractalternativeAt present, increasing uses of computer in business results in rapid production of new released models and the need to keep more spare parts is becoming important. This creates problems in spare parts inventory management such as ordering, receiving , storing ,acquiring , returning and delivering spare parts. This thesis studies the computer spare part inventory management problem for a computer company in Thailand. The solutions are proposed for improving the inventory management of spare parts of 5 computer models to illustrate the cost reduction of inventory cost by fixed order quantity which results in reducing the shortage level on average from 39 pieces per month to 10 pieces per month and decreasing operating cost by 446,954.4 Baht annually. Moreover, the improvement of inventory management such as receiving , storing and returning reduce the stock on hand data error in computer system and also reduce the average waiting time for acquiring spare parts from 48.3 minutes to 19.4 minutes per acquisition.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.1997.385-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectคอมพิวเตอร์en_US
dc.subjectอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์en_US
dc.subjectการควบคุมสินค้าคงคลังen_US
dc.subjectComputersen_US
dc.subjectComputer industryen_US
dc.subjectInventory controlen_US
dc.titleการปรับปรุงระบบการจัดการคลังชิ้นส่วนเครื่องคอมพิวเตอร์ สำหรับการบริการหลังการขายen_US
dc.title.alternativeComputer parts inventory control improvements for after-sales service operationsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisor[email protected]-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.1997.385-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Tirapat_ua_front_p.pdfหน้าปก และบทคัดย่อ905.82 kBAdobe PDFView/Open
Tirapat_ua_ch1_p.pdfบทที่ 11.01 MBAdobe PDFView/Open
Tirapat_ua_ch2_p.pdfบทที่ 21.31 MBAdobe PDFView/Open
Tirapat_ua_ch3_p.pdfบทที่ 32.03 MBAdobe PDFView/Open
Tirapat_ua_ch4_p.pdfบทที่ 41.25 MBAdobe PDFView/Open
Tirapat_ua_ch5_p.pdfบทที่ 52.51 MBAdobe PDFView/Open
Tirapat_ua_ch6_p.pdfบทที่ 6887.84 kBAdobe PDFView/Open
Tirapat_ua_ch7_p.pdfบทที่ 7655.08 kBAdobe PDFView/Open
Tirapat_ua_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก1.55 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.