Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74708
Title: ตัวควบคุมเชิงเลขชนิดโปรแกรมได้ สำหรับกระบวนการทางอุตสาหกรรมแบบต่อเนื่อง
Other Titles: Programmable digital controller for continuous industrial processes
Authors: อำนวย แสงวิโรจนพัฒน์
Advisors: สมบูรณ์ จงชัยกิจ
กฤษดา วิศวธีรานนท์
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Advisor's Email: [email protected]
[email protected]
Subjects: เครื่องมือกล -- การควบคุมเชิงตัวเลข
การคำนวณเชิงตัวเลข -- โปรแกรมคอมพิวเตอร์
Machine-tools -- Numerical control
Numerical calculations -- Computer program
Issue Date: 2532
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: วิทยานิพนธ์นี้กล่าวถึงการออกแบบและสร้างตัวควบคุมเชิงเลขชนิดโปรแกรมได้สำหรับกระบวนการทางอุตสาหกรรมแบบต่อเนื่อง ตัวควบคุมเชิงเลขที่สร้างขึ้นใช้ไมโครโปรเซสเซอร์ Intel 8088 ยนาด 16 บิททำงานที่ความเร็ว 5 เมกกะเฮิร์ท โดยมีสัญญาณขาเข้าประกอบด้วย สัญญาณอนาลอค 1-5 Vdc จำนวน 5 จุดและสัญญาณดิจิตอลจำนวน 3 จุดสัญญาณออกประกอบด้วย สัญญาณอนาลอค 4-20 mA mAdc 1 จุด และสัญญาณแรงดัน 1-5 Vdc จำนวน 2 จุด และสัญญาณดิจิตอลจำนวน 3 จุด โปรแกรมกำหนดรูปแบบการควบคุมใช้ภาษาแอสแซมบลี้ มีฟังก์ชันในการควบคุม ได้แก่ ฟังก์ชันคณิตศาสตร์, ตรรก, ฟังก์ชันพื้นฐานและฟังก์ชัน PID ซึ่งสามารถนำมาโปรแกรมกำหนดรูปแบบการควบคุมที่ซับซ้อนได้เป็น Ratio, Cascade, Feedback-feedforward เป็นต้น ตัวควบคุมที่สร้างขึ้นได้นำไปทดสอบกับโปรเซสจริงในห้องปฏิบัติการ โดยมีรูปแบบการควบคุม 2 แบบ คือ การควบคุมแบบป้อนกลับแบบง่าย ๆ และการควบคุมแบบ Cascade ผลการทดสอบปรากฏว่า ตัวควบคุมเชิงเลขสามารถควบคุมโปรเซสได้ผลเป็นที่น่าพอใจ เวลาในการทำงานแต่ละรอบมีค่าเท่ากับ 8 และ 24 ms. ตามลำดับ
Other Abstract: This thesis presents the implementation of a programmable digital controller for continuous industrial processes. The controller uses the 16-bit Intel 8088 general-purpose microprocessor running at 5 MHz. The developed digital controller can handle 5 analog inputs (1-5 Vdc), 3 digital inputs, 3 analog outputs (one 4-20 mAdc and the others 1-5 Vdc) 3 digital outputs. Assembly language was chosen de for control configuration programing. Control functions are arithmetic, logical, basic and PID. with these functions, the complex controls such as ratio, cascade, feedback-feed forward etc. can be implemented. Simple feedback control and cascade control are tested with the process plant. model in the laboratory. The results have proved to be satisfactory with run time of 8 ms/cycle and 24 ms/cycle, respectively.
Description: วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2532
Degree Name: วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: วิศวกรรมไฟฟ้า
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74708
ISBN: 9745760765
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Amnuay_sa_front_p.pdf1.11 MBAdobe PDFView/Open
Amnuay_sa_ch1_p.pdf735.54 kBAdobe PDFView/Open
Amnuay_sa_ch2_p.pdf1.08 MBAdobe PDFView/Open
Amnuay_sa_ch3_p.pdf1.06 MBAdobe PDFView/Open
Amnuay_sa_ch4_p.pdf1.8 MBAdobe PDFView/Open
Amnuay_sa_ch5_p.pdf3.44 MBAdobe PDFView/Open
Amnuay_sa_ch6_p.pdf2.34 MBAdobe PDFView/Open
Amnuay_sa_ch7_p.pdf659.75 kBAdobe PDFView/Open
Amnuay_sa_back_p.pdf2.18 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.