Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74909
Title: Development of polybenzoxazine (PBZ) membranes for ethanol/water separation
Other Titles: การพัฒนาโพลีเบนซอกซาซีนเมมเบรนสำหรับการแยกสารผสมระหว่างเอทานอลและน้ำ
Authors: Jiranun Tungsattabud
Advisors: Thanyalak Chaisuwan
Sujittra Wongkasemjit
Other author: Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College
Advisor's Email: No information provided
[email protected]
Subjects: Gasohol
Pervaporation
แกสโซฮอล
เพอร์เวเพอเรชัน
Issue Date: 2010
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Pervaporation is a new method for ethanol and water separation using lower energy and investment. This technique is considerd as a better candidate for separation of close boiling point azeotropic or isomeric mixtures. Moreover, the membrane selectivity is very important for this technique. The membrane in this study is made from bisphenol-A, formaldehyde and two different type of diamines, 1,6-hexanediamine (hda) and ethylenediamine (eda). The objective of this work is to study ethanol/water separation efficiency by varying testing tem perature, membrane thickness and ethanol concentration.
Other Abstract: ก๊าซโซฮอลล์ถูกนำมาใช้อย่างแพร่หลายในปัจจุบันเพราะมีข้อดีหลายอย่างเมื่อเปรียบเทียบกับก๊าซโซลีน แต่อย่างไรก็ตามการแยกให้ได้เอทานอลบริสุทธ์เพื่อนำมาผสมกับก๊าซโซลีนนั้นเปีนสิ่งสำคัญ ดังนั้นวิธีเพอร์แวบโพเรชั่นซึ่งเป็นเทคนิคใหม่สำหรับแยกสารละลายที่เกิดจากการผสมของสารที่มีจุดเดือดใกล้กันจึงเป็นอีกเทคนิคที่น่าสนใจ โดยเทคนิคนี้ควรใช้เมมเบรนที่มีความจำเพาะในการเลือกผ่านและความสามารถในการแพร่ผ่านสูง โพลีเบนซอกซาชีนเป็นโพลิเมอร์ที่ถูกนำมาใช้เปีนเมมเบรนในงานวิจัยนี้ โดยสามารถสังเคราะห์ได้จากบิสฟินอลเอ, ฟอร์มาลดีไฮด์และไดเอมีน 2 ชนิด ได้แก่ 1,6-เฮก สะเมทิลีนไดเอมีน และเอทิลีนไดเอมีน หลังจากนำมาทดลองแยกสารผสมระหว่างเอทธานอลและนำด้วยวิธีการแบบเพอร์แวบเรชั่นพบว่า เมมเบรนนั้งสองแสดงประสิทธิภาพที่ดีในการแยกสารละลายเอทานอลที่อุณหภูมิ 70 องศาเซลเซียส และความหนาของเมมเบรนที่ 200 ไมครอนนอกจากนี้ยังพบว่า โพลีเบนซอกซาซีนมเมมเบรนที่ได้จาก 1,6-เฮกสะเมทิลีนไดเอมีน แสดงค่าเพอร์มีเอชั่นฟลักและค่าเซพพาเรชั่นแฟกเตอร์สูงเมื่อเพิ่มความข้มข้นของเอทานอลในสารละลายขณะที่โพลีเบนซอกซาชีนมเมมฌรนที่ได้จาก เมทิลีนไคเอมีนแสดงค่าเพอร์มีเอชั่นฟลักและค่าเซพพาเรชั่นแฟกเตอร์ใกล้เคียงกันในแต่ละความเข้มข้นของเอทานอลในสารละลาย แต่อย่างไรก็ตาม การเพิ่มความเข้มข้นของเอทานอลมากขึ้นเรื่อยๆจะไม่มีผลต่อค่าเพอร์มีเอชั่นฟลักและค่าเซพพาเรชั่นแฟกเตอร์ของเมมเบรนตั้งสองชนิด ดังนั้นเพื่อแยกเอทานอลจากกระบวนการหมักซึ่งมีอยู่ประมาณ 12 เปอร์เชนต์ โพลีเบนซอกซาซีนมเมมเบรนที่ได้จาก 1,6-เฮกสะเมทิลีนไดเอมีนจึงเป็นเมมเบรนที่มีความเหมาะสมที่สุด
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2010
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Polymer Science
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74909
Type: Thesis
Appears in Collections:Petro - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Jiranun_tu_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ844.57 kBAdobe PDFView/Open
Jiranun_tu_ch1_p.pdfบทที่ 1655.77 kBAdobe PDFView/Open
Jiranun_tu_ch2_p.pdfบทที่ 21.2 MBAdobe PDFView/Open
Jiranun_tu_ch3_p.pdfบทที่ 3951.14 kBAdobe PDFView/Open
Jiranun_tu_ch4_p.pdfบทที่ 41.64 MBAdobe PDFView/Open
Jiranun_tu_ch5_p.pdfบทที่ 5620.21 kBAdobe PDFView/Open
Jiranun_tu_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก929.02 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.