Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74966
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจุมพล พูลภัทรชีวิน-
dc.contributor.advisorสุวัฒนา สุวรรณเขตนิคม-
dc.contributor.authorกาสัก เต๊ะขันหมาก-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-08-20T03:54:26Z-
dc.date.available2021-08-20T03:54:26Z-
dc.date.issued2531-
dc.identifier.isbn9745688614-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74966-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2531en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาอนาคตภาพและทางเลือกในอนาคตสำหรับการดำเนินงานด้านวัฒนธรรม ภายในปีพุทธศักราช 2540 โดยใช้เทคนิค EDFR กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านวัฒนธรรมจำนวน 21 คน ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์และใช้แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์เนื้อหา คำนวณหาค่าร้อยละค่ามัธยฐาน ฐานนิยม พิสัยระหว่างควอไทล์ และผลต่างระหว่างค่ามัธยฐานและฐานนิยม ผลการวิจัยพบว่าในอนาคตรัฐบาลมีแนวโน้มจะเห็นความสำคัญของงานวัฒนธรรมมากขึ้นโดยจะมีการจัดองค์กรบริหารงานวัฒนธรรมในส่วนกลางให้สามารถดำเนินการได้อย่างมีเอกภาพและมีประสิทธิภาพในส่วนการปฏิบัติงานวัฒนธรรมในส่วนภูมิภาคนั้น จะมีกรรมการในระดับจังหวัด ซึ่งเป็นการระดมสรรพกำลังจากทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อดำเนินงานด้านนี้ โดยองค์กรภาคเอกชน จะให้ความสนับสนุนและร่วมมือกับรัฐบาลมากขึ้น ภายในปีพุทธศักราช 2540 การดำเนินงานด้านวัฒนธรรมมีแนวโน้มจะเน้นการให้ความรู้ และความคิดแก่ประชาชนเป็นหลัก มีแนวโน้มที่รัฐบาลจะให้ความสนใจการพัฒนาคนและจิตใจ โดยจัดงบประมาณเพื่อการนี้มากขึ้น ในการจัดการศึกษาทุกระดับทั้งในแนะนอกโรงเรียนจะมีการสอดแทรกเรื่องการอนุรักษ์ส่งเสริม เผยแพร่ วัฒนธรรมที่ดีงามของไทย และมุ่งปลูกฝังค่านิยมที่พึงประสงค์ในสังคม นอกจากนั้น มีแนวโน้มว่าจะมีการนำวิธีการทางอุตสาหกรรมและการค้ามาใช้ใน การเผยแพร่วัฒนธรรมอย่างแพร่หลาย ในอนาคตมีแนวโน้มที่จะมีการใช้วัฒนธรรมเป็นเครื่องมือทางการเมืองระหว่างประเทศ เป็นสื่อในการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมากขึ้น การแลกเปลี่ยนจะดำเนินการหลายรูปแบบ โดยจะเน้นเยาวชนเป็นหลัก-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to identify the scenarios and alternatives for the future trends a cultural implimentation by the year 1977 (B.E.2540) by using EDER technique. The sample consisted of 21 cultural experts from various organizations. Questionnaire and Interview were employed in this study. The obtained data was analyzed by means of content analysis, percentage, median, mode and interquartile range. The study revealed that the government would give more priority to culture and cultural development. Working bodies and administration in the central area could be systematically and effectively organized. Aa for regional administration, committees in provincial level from both government units and private sector would contribute their cooperation at their own limit. By the year 1997 (B.E.2540), the Thais would have made to be aware of their own culture by means of education. In every level of both formal and non-formal education, the preservation, promotion and dissemination of Thai culture as well as social values would be officially strangthened. More budget would be provided by the government to develop humanistic value. There was also a trend to adopt the industrial and commercial techniques in the dissemination of culture. At the end, culture would be a very important tool for international relations. Cultural exchanges, to aerate better understanding among nations, could be promoter in several media spectrally among the youth.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectวัฒนธรรมไทยen_US
dc.subjectศูนย์วัฒนธรรมen_US
dc.subjectนโยบายวัฒนธรรม -- ไทยen_US
dc.subjectเทคนิคเดลฟายen_US
dc.subjectCultural centeren_US
dc.subjectCultural policy -- Thailanden_US
dc.subjectDelphi methoden_US
dc.titleอนาคตภาพและทางเลือกในอนาคตสำหรับการดำเนินงานด้านวัฒนธรรมในปีพุทธศักราช 2540en_US
dc.title.alternativeScenarios and alternatives in the futures for cultural implementations in the year B.E. 2540en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิจัยการศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisor[email protected]-
dc.email.advisor[email protected]-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kasak_te_front_p.pdf1.1 MBAdobe PDFView/Open
Kasak_te_ch1_p.pdf1.15 MBAdobe PDFView/Open
Kasak_te_ch2_p.pdf5.06 MBAdobe PDFView/Open
Kasak_te_ch3_p.pdf1.29 MBAdobe PDFView/Open
Kasak_te_ch4_p.pdf3.23 MBAdobe PDFView/Open
Kasak_te_ch5_p.pdf3.41 MBAdobe PDFView/Open
Kasak_te_back_p.pdf4.5 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.