Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75312
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSujitra Wongkasemjit-
dc.contributor.advisorApanee Luengnaruemitchai-
dc.contributor.advisorThanyalak Chaisuwan-
dc.contributor.authorPatomwat Tatijaren-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College-
dc.date.accessioned2021-08-30T09:45:30Z-
dc.date.available2021-08-30T09:45:30Z-
dc.date.issued2013-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75312-
dc.descriptionThesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2013en_US
dc.description.abstractCogon grass (Imperata cylindrica), Guinea grass (Panicum maximum), Kans grass (Saccharum spontaneum), Giant reed (Arundo donax), and Mission grass (Pennisetum polystachyon) were locally collected to test as bioethanol feedstock. Mission grass, Kans grass, and Giant reed, showing high cellulose and hemicellulose compositions, were treated by a two-stage chemical/microwave pretreatment method. The optimum conditions of the pretreatment were investigated and the maximum monomeric sugar yields were compared. The microwave-assisted NaOH and H₂SO₄ with 15:1 liquid to solid ratio were studied by varying catalyst concentration, temperature, and time to maximize the amount of the obtained monomeric sugar. The maximum monomeric sugars from microwave-assisted NaOH pretreated Mission grass, Kans grass, and Giant reed were 6.6 (at 120 °C,10 min, 3%(w/v) NaOH), 6.8 (at 80 °C,5 min, 5%(w/v) NaOH), and 6.8 (at 120 °C,5 min, 5%(w/v) NaOH) g/100g biomass, respectively, while maximum monomeric sugars from microwave-assisted H₂SO₄ pretreatment were 34.3 (at 200 °C,5 min, 1%(w/v) H₂SO₄), 33.8 (at 200 °C,10 min, 0.5%(w/v) H₂SO₄), and 31.9 (at 180 °C,30 min, 0.5%(w/v) H₂SO₄) g/100g biomass, respectively. The structural changes in weeds were characterized by Fourier transform infrared spectroscopy (FTIR) and Scanning electron microscope (SEM).-
dc.description.abstractalternativeหญ้าคา หญ้ากินนี หญ้าดอกเลา ต้นอ้อ และหญ้าขจรจบดอกเล็ก ที่ขึ้นเองตามธรรมชาติในประเทศไทย ถูกนำมาประยุกต์ใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตไบโอเอทานอล โดยในจำนวนหญ้า 5 ชนิดนี้พบว่า หญ้าขจรจบดอกเล็ก หญ้าดอกเลา และต้นอ้อ มีองค์ประกอบของเซลลูโลสและเฮมิเซลลูโลสสูงสุด จึงถูกนำมาศึกษาต่อเพื่อหาสภาวะที่ดีที่สุดในกระบวนการปรับสภาพพืชสองขั้นตอนด้วยรังสีไมโครเวฟและสารเคมีที่ใช้เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา และเปรียบเทียบน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวที่ผลิตได้จากหญ้าทั้งสามชนิดนี้ โดยในการศึกษาสภาวะของกระบวนการปรับสภาพพืชสองขั้นตอนนั้น รังสีไมโครเวฟถูกใช้ร่วมกับโซเดียมไฮดรอกไซด์และกรดซัลฟิวริก ที่อัตราส่วนของเหลวต่อของแข็ง 15:1 และ ทำการศึกษาผลของอุณหภูมิ เวลา และความเข้มข้นของตัวเร่งปฏิกิริยา เพื่อหาสภาวะที่ดีที่สุดของกระบวนการนี้ จากผลการศึกษาพบว่า ในขั้นตอนแรกการใช้รังสีไมโครเวฟร่วมกับโซเดียมไฮดรอกไซด์สามารถผลิตน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวจากหญ้าขจรจบดอกเล็ก หญ้าดอกเลา และต้นอ้อ ได้ 6.6 กรัม (ที่อุณหภูมิ 120 องศาเซลเซียส 10 นาที 3%(w/v) NaOH) 6.8 กรัม (ที่อุณหภูมิ 80 องศาเซลเซียส 5 นาที 5%(w/v) NaOH) และ 6.8 (ที่อุณหภูมิ 120 องศาเซลเซียส 5 นาที 5%(w/v) NaOH) กรัมต่อ 100 กรัมชีวมวล ตามลำดับ ในขณะที่เมื่อใช้รังสีไมโครเวฟร่วมกับกรดซัลฟิวริกในการปรับสภาพพืชขั้นที่สองนั้นสามารถผลิตน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวจากหญ้าขจรจบดอกเล็ก หญ้าดอกเลา และต้นอ้อ ได้ 34.3 กรัม (ที่อุณหภูมิ 200 องศาเซลเซียส 5 นาที 19(w/v) H₂SO₄) 33.8 กรัม (ที่อุณหภูมิ 200 องศาเซลเซียส 10 นาที 0.5%(w/v) H₂SO₄) และ 31.9 กรัม (ที่อุณหภูมิ 180 องศาเซลเซียส 30 นาที 0.5%(w/v) H₂SO₄) ต่อ 100 กรัมชีวมวล ตามลำดับ การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางกายภาพและทางเคมีของตัวอย่างจากกระบวนการปรับสภาพพืชนั้นถูกศึกษาโดยใช้กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราดและเทคนิคฟูเรียทรานสฟอร์มสเปคโตรสโคปี-
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.2033-
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectBiomass energy-
dc.subjectWeeds-
dc.subjectพลังงานชีวมวล-
dc.subjectวัชพืช-
dc.titleEvaluation of monomeric sugar yield from various grasses grown in thailand as biofuel feedstock by two-stage microwave/chemical pretreatment processen_US
dc.title.alternativeการประเมินศักยภาพในการผลิตน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวของวัชพืชในประเทศไทยเพื่อใช้เป็นวัตถุดิบสำหรับพลังงานชีวมวลด้วยกระบวนการปรับสภาพพืชสองขั้นตอน จากรังสีไมโครเวฟและสารเคมีen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameMaster of Scienceen_US
dc.degree.levelMaster's Degreeen_US
dc.degree.disciplinePolymer Scienceen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisor[email protected]-
dc.email.advisor[email protected]-
dc.email.advisor[email protected]-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.2033-
Appears in Collections:Petro - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Patomwat_ta_front_p.pdfCover and abstract1.09 MBAdobe PDFView/Open
Patomwat_ta_ch1_p.pdfChapter 1617.44 kBAdobe PDFView/Open
Patomwat_ta_ch2_p.pdfChapter 22.79 MBAdobe PDFView/Open
Patomwat_ta_ch3_p.pdfChapter 3876.79 kBAdobe PDFView/Open
Patomwat_ta_ch4_p.pdfChapter 43.11 MBAdobe PDFView/Open
Patomwat_ta_ch5_p.pdfChapter 5606.45 kBAdobe PDFView/Open
Patomwat_ta_back_p.pdfReference and appendix1.71 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.