Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7631
Title: | การปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตโดยวิธีคิวซีดี : กรณีโรงงานผลิตชิ้นส่วนรถยนต์บรรทุกขนาดเล็ก |
Other Titles: | Productivity improvement through QCD : a case of a small truck parts manufacturing plant |
Authors: | สุรัตน์ ตรัยวนพงศ์ |
Advisors: | วันชัย ริจิรวนิช |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย |
Advisor's Email: | [email protected] |
Subjects: | การเพิ่มผลผลิตทางอุตสาหกรรม การควบคุมคุณภาพ อุตสาหกรรมชิ้นส่วนรถยนต์ -- การควบคุมคุณภาพ |
Issue Date: | 2540 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | ปรับปรุงประสิทธิภาพในด้านคุณภาพ ต้นทุนการผลิต และการจัดส่งสินค้าของโรงงานผลิตชิ้นส่วนรถยนต์บรรทุกขนาดเล็ก พบว่าปัญหาที่ทำให้ประสิทธิภาพการผลิตต่ำ ได้แก่ ปัญหาด้านระบบคุณภาพ ด้านต้นทุนการผลิต การส่งมอบสินค้าให้กับลูกค้าล่าช้า จากปัญหาดังกล่าวผู้วิจัยได้เสนอแนวทางในการปรับปรุง โดยการจัดทำระบบคุณภาพ การลดต้นทุนการผลิต และจัดระบบบำรุงรักษา เพื่อลดปัญหาการส่งมอบสินค้า ผลจากการศึกษาวิจัยและดำเนินการปรับปรุง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต สามารถสรุปได้ดังนี้ 1. จัดทำระบบคุณภาพ เพื่อใช้ในการควบคุมการผลิต มีผลทำให้ลดวัสดุที่ไม่ได้คุณภาพก่อนนำเข้า 44.16% และลดปัญหาชิ้นส่วนที่ไม่ได้คุณภาพในการส่งมอบให้ลูกค้าโดยเฉลี่ย 31.61% 2. การลดต้นทุนการผลิต โดยปรับปรุงต้นทุนด้านวัสดุ ผลจากการดำเนินการ มีผลทำให้ต้นทุนสามารถลดลงจากเดิม 2035 บาท ลดลงเหลือ 1852.98 บาท หรือลดลง 8.94% 3. การจัดทำการบำรุงรักษา เพื่อป้องกันการหยุดของเครื่องจักรและเพิ่มประสิทธิภาพให้เครื่องจักร มีผลทำให้สามารถลดจำนวนครั้งการส่งมอบล่าช้าลงได้จาก 14.16% เหลือ 7.14% |
Other Abstract: | Improves the efficiency and increasing the productivity in a small truck parts manufacturing plant. According to the result of this study, it's found the causes of low productivity are quality, cost and parts delivery delay. From these researcher suggested the method to do quality system, cost reduction and preventive maintenance. It could be summarized as the following: 1. To do quality control system. Reduction incoming materials problem 44.16%, defective parts 31.61% in average. 2. Cost reduction. Regarding cost reduction, the former average 2035 baht is reduce to 1852.98 baht or 8.94% 3. To do preventive maintenance to improve parts delivery delay. Parts delivery delay was reduced from 14.16% to 7.14%. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540 |
Degree Name: | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | วิศวกรรมอุตสาหการ |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7631 |
ISBN: | 9746382349 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Surat_Tr_front.pdf | 411.25 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Surat_Tr_ch1.pdf | 430.84 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Surat_Tr_ch2.pdf | 865.05 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Surat_Tr_ch3.pdf | 400.24 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Surat_Tr_ch4.pdf | 2.72 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Surat_Tr_ch5.pdf | 307.76 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Surat_Tr_back.pdf | 1.77 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.