Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77426
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุชาดา สุขหร่อง | - |
dc.contributor.author | บงกช พิทักษ์ชาติวงศ์ | - |
dc.contributor.author | ชยากร เหลืองสะอาด | - |
dc.contributor.author | อรรถเดช อุณหเลขกะ | - |
dc.contributor.other | คณะเภสัชศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2021-10-01T04:26:21Z | - |
dc.date.available | 2021-10-01T04:26:21Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77426 | - |
dc.description | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาเภสัชศาสตร์บัณฑิต สาขาการค้นพบและพัฒนายา คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2557 | en_US |
dc.description.abstract | ชิงช้าสะแกราช (Tinospora siamensis Forman) วงศ์ Menispermaceae เป็นพืซที่ถูกค้นพบครั้งแรกใน ประเทศไทยที่ป่าสะแกราช อำเภอวังน้ำเขียว จังหวัดนครราชสีมา โดยพืซในสกุล Tinospora หลายชนิดถูกใช้เป็น ยาสมุนไพร มีสรรพคุณแก้ไข้ ต้านการอักเสบ ต้านเบาหวาน ต้านภูมิแพ้ และปรับภูมิคุ้มกัน เป็นต้น ในปัจจุบันยัง ไม่มีการรายงานถึงองค์ประกอบทางเคมีและฤทธิ์ทางชีวภ าพของพืชชนิดนี้มาก่อน ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงมี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาองค์ประกอบทางเคมีและฤทธิ์ทางชีวภาพของเถาชิงช้าสะแกราช โดยใช้วิธีการแยกสกัดสาร ด้วยเทคนิคโครมาโทกราฟีและวิเคราะห์โครงสร้างทางเคมีของสารบริสุทธิ์ด้วยเทคนิคสเปคโทรสโกปี การวิจัยนี้ สามารถแยกสารบริสุทธิ์จากสารสกัดส่วนเอทิลอะซีเตทได้ 2 ชนิด ได้แก่ 15,16-Epoxy-4-hydroxy-2,13(16), 14- clerodatriene-17,12:18,6 -diolide และnaringenin ซึ่งเป็นสารในกลุ่ม diterpenoid และ (avonoid ตามลำดับ เมื่อทดสอบฤทธิ์ลดระดับน้ำตาลในเลือดผ่านกลไกการยับยั้งเอนไซม์แอลากลูโคซิเดส พบว่าสารทั้ง 2 ชนิด สามารถยับยั้งเอนไซม์แอลฟากลูโคซิเดสได้โดย naringenin (ICS><1,203.05 แIN) มีฤทธิ์ในการยับยั้งเอนไซม์ แอลฟากลูโคซิเดส ได้ดีกว่า 15,16-Epoxy-4-hydroxy-2,13(16), 14-clerodatriene-17,12:18,6-diolide (ICso1,583.13土66.87 มM) และ Acarbose (ICso1,591 t 236.88 แiM) โดยข้อมูลที่ได้เป็นรายงานครั้งแรกถึง องค์ประกอบทางเคมีและฤทธิ์ทางชีวภาพของต้นชิงข้าสะแกราช และอาจนำสารนี้ไปพัฒนาต่อเป็นยารักษา โรคเบาหวานที่เป็นยาใหม่จากธรรมชาติได้ | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ไม้เถา | en_US |
dc.subject | Climbing plants | en_US |
dc.subject | สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากพืช | en_US |
dc.subject | Plant bioactive compounds | en_US |
dc.title | องค์ประกอบทางเคมีและฤทธิ์ทางชีวภาพของเถาชิงช้าสะแกราช | en_US |
dc.title.alternative | Chemical constituents and biological activities of Tinospora siamensis vine | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.email.advisor | [email protected] | - |
dc.subject.keyword | เถาชิงช้าสะแกราช | en_US |
dc.subject.keyword | Tinospora siamensis | en_US |
Appears in Collections: | Pharm - Senior projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Pharm_SeniorProject_2.5_2557.pdf | ไฟล์โครงงานทางวิชาการฉบับเต็ม | 2.52 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.