Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77440
Title: เจตจำนงเสรีและเหตุวิสัยในพุทธปรัชญาเถรวาท
Other Titles: Free will and determinism in Theravada Buddhism
Authors: สุทัศน์ ปึงศิริพัฒนา
Advisors: ปรีชา ช้างขวัญยืน
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์
Advisor's Email: [email protected]
Subjects: กรรม
ปฏิจจสมุปบาท
พฤติกรรมมนุษย์
ความรับผิดชอบ
ลัทธิเหตุวิสัย
Karma
Pratītyasamutpāda
Human behavior
Responsibility
Determinism (Philosophy)
Issue Date: 2542
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การศึกษา เปรียบเทียบ พุทธปรัชญาเถรวาทกับลัทธิเหตุวิสัยและลัทธิเจตจำนงเสรีรวมทั้งแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับลัทธิทั้งสองเช่น แนวคิดแบบประนีประนอม ทำให้เห็นได้ว่าพุทธปรัชญามีทัศนะสอดคล้องกับลัทธิเจตจำนงเสรี ลัทธิเหตุวินัยอธิบายพฤติกรรมของมนุษย์ว่า ถูกกำหนดโดยสาเหตุอื่นๆ ทำให้มนุษย์ไม่มีพลังอำนาจในการเลือกและเขาไม่สามารถควบคุมการกระทำต่างๆ ของตนได้ในทางตรงกันข้ามพุทธปรัชญาเห็นพ้องกับลัทธิเจตจำนงเสรีเพราะบางครั้งมนุษย์มีพลังอำนาจที่จะเลือกและควบคุมการกระทำต่างๆ ของตนภายในข้อจำกัดบางอย่างได้ นอกจากนั้นยังพบว่าปัญหาสำคัญระหว่างลัทธิเหตุวิสัยและลัทธิเจตจำนงเสรีรวมไปถึงแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับลัทธิทั้งสองคือ ปัญหาเกี่ยวกับความรับผิดชอบทางศีลธรรมนั้นไม่มีทัศนะใดอธิบายความรับผิดชอบดังกล่าวให้สอดคล้องกับสามัญสำนึกโดยทั่วไปได้แต่พุทธปรัชญามีหลักคำสอนเกี่ยวกับกรรมและการรับผลของกรรมซึ่งตีความได้ว่าเป็นการอธิบายความรับผิดชอบทางศีลธรรมในรูปของกระบวนการธรรมชาติคือความรับผิดชอบทางศีลธรรมไม่จำเป็นต้องสอดคล้องกับสามัญสำนึกโดยทั่วไปดังนั้นพุทธปรัชญาจึงมิได้พบปัญหาเช่นทัศนะอื่นๆ
Other Abstract: In comparing Theravade Buddhism with determinism, free will and the other involving philosophical views such as compatibilism. It is found that Buddhism is consistent with free will theory. Determinism regard human’s behavior as causally determined. Man has no power of choice and his actions are not controlled by himself. Buddhism optionally agrees with free will since man sometimes has power to choose and control his actions within some limits. A controversy between determinism, free will and the other involving theories is on moral responsibility. All of the above views cannot reconcile with the common sense. Buddhist teachings of karma and its result gives rise to the new interpretation on moral responsibility, namely moral responsibility is a natural process. Certainly, Buddhism dose not try to find any agreement with the common sense. So Buddhism neither encounters the problems of free will nor the problems of determinism.
Description: วิทยานิพนธ์ (อ.ม.) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542
Degree Name: อักษรศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: ปรัชญา
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77440
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.1999.101
ISBN: 9743339159
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.1999.101
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sutat_pu_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ807.13 kBAdobe PDFView/Open
Sutat_pu_ch1_p.pdfบทที่ 1672.3 kBAdobe PDFView/Open
Sutat_pu_ch2_p.pdfบทที่ 22.18 MBAdobe PDFView/Open
Sutat_pu_ch3_p.pdfบทที่ 32.55 MBAdobe PDFView/Open
Sutat_pu_ch4_p.pdfบทที่ 4767.12 kBAdobe PDFView/Open
Sutat_pu_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก669.9 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.