Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79068
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธนาพล ลิ่มอภิชาต-
dc.contributor.authorศรัญญู เทพสงเคราะห์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-07-01T03:39:10Z-
dc.date.available2022-07-01T03:39:10Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79068-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2564-
dc.description.abstractราชทัณฑ์หรือการลงโทษของรัฐเป็นกลไกหนึ่งของกระบวนการยุติธรรมทางอาญาและเป็นเครื่องมือในการใช้อำนาจของรัฐอย่างชัดเจนและตรงไปตรงมาผ่านการลงทัณฑ์ผู้ฝ่าฝืนกฎหมายหรือระเบียบทางศีลธรรมของผู้มีอำนาจ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษากำเนิดและการเปลี่ยนแปลงของการราชทัณฑ์ไทยสมัยใหม่ในช่วง พ.ศ. 2433-2506 โดยพิจารณาแนวคิด วิธีการ รวมถึงปฏิบัติการลงทัณฑ์สมัยใหม่ของรัฐไทย จากการศึกษาพบว่าบริบทการเมืองภายในของรัฐไทยกับแนวคิดและการปฏิสัมพันธ์กับความรู้เกี่ยวกับการลงโทษรูปแบบใหม่ ๆ จากภายนอก เป็นเงื่อนไขสำคัญที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของงานราชทัณฑ์ไทยสมัยใหม่ โดยการเปลี่ยนแปลงนี้สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ระลอก ได้แก่ ยุคสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ยุคสมัยคณะราษฎร และยุคสมัยเผด็จการทหาร งานราชทัณฑ์ไทยยังสามารถเผยให้เห็นกรอบแนวคิด 4 แบบเกี่ยวกับรัฐไทยสมัยใหม่ ได้แก่ (1) ทัศนคติและการควบคุมพลเมืองของรัฐไทยในแต่ละช่วงเวลา (2) การปรับใช้แนวคิดและวิธีการลงทัณฑ์สมัยใหม่ให้เข้ากับปฏิบัติการทางวัฒนธรรมในสังคมไทย (3) ความสลับซับซ้อนและความคลุมเครือของการใช้อำนาจในการลงทัณฑ์ของรัฐไทย และ (4) ข้อจำกัดและสภาวะยกเว้นในการลงทัณฑ์สมัยใหม่ของรัฐไทย-
dc.description.abstractalternative“Ratchathan” or state punishment is one of the mechanisms of the criminal justice system and the state's tool for exercising power most explicitly and directly through penalties for violating the law or moral order of the authority. This dissertation aims to study the origins and changes of modern Thai punishment from 1890 to 1963 by considering the concepts, methods, and practices of penalty of modern Thai state. The study finds that the internal socio-political context of the Thai state and the interactions with the concepts and knowledge of new forms of punishment were important preconditions for the transformations of the modern Thai punishment. These transformations can be divided into three waves: the absolute monarchy period; the Constitutional period; and the period of military dictatorship. The study of modern Thai penal system also reveals four conceptual frameworks of the modern Thai state: (1) the perspectives and control over the Thai state's citizens at different times; (2) the adaptation of modern penal concepts and methods to fit the cultural practices in Thai society; (3) the complexity and ambiguity of the Thai state's exercise of penal power; (4) the limitations and exceptions of punishment in modern Thai state.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2021.738-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectทัณฑกรรม -- ไทย -- ประวัติ-
dc.subjectการลงโทษ -- ไทย-
dc.subjectกระบวนการยุติธรรมทางอาญา -- ไทย-
dc.subjectPunishments -- Thailand -- History-
dc.subjectCriminal justice, Administration of -- Thailand-
dc.subject.classificationArts and Humanities-
dc.titleจากการคุมขังสู่การแก้ไขฟื้นฟู: การเปลี่ยนแปลงของการราชทัณฑ์ไทยสมัยใหม่ พ.ศ. 2433-2506-
dc.title.alternativeFrom imprisonment to corrections: the transformation of modern Thai punishment, 1890–1963-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาเอก-
dc.degree.disciplineประวัติศาสตร์-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2021.738-
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5980523222.pdf9.72 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.