Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8007
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนันทนา จิรธรรมนุกูล-
dc.contributor.authorทรรศพร พิศรูป-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาตร์-
dc.date.accessioned2008-09-05T09:23:07Z-
dc.date.available2008-09-05T09:23:07Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9741748787-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8007-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ศึกษาถึงการเตรียมมอนต์มอริลโลไนต์ดัดแปรด้วยกระบวนการแลกเปลี่ยนประจุบวกระหว่างโซเดียมไอออน (Na[superscript +]) ของมอนต์มอริลโลไนต์ และแอมโมเนียมไอออน (NH[subscript 4][superscript +]) บนโมเลกุลของเกลืออัลคิลแอมโมเนียม ของ dodecylamine (C12), hexadecylamine (C16) และ octadecylamine (C18) และมีการแปรเปลี่ยนปริมาณของอัลคิลเอมีนปริมาณต่างๆ คือ ร้อยละ 1, 2 และ 3 โดยน้ำหนัก จากนั้นนำมอนต์มอริลโลไนต์ที่ผ่านการดัดแปรศึกษาด้วยเทคนิคเอกซ์เรย์ดิฟแฟรกชัน (XRD) และเทคนิคฟูเรียทรานฟอร์มอินฟาเรดสเปกโทรสโคปี (FT-IR) จากผลการทดสอบด้วยเทคนิค XRD พบว่ามอนต์มอริลโลไนต์ดัดแปรที่เตรียมได้มีโครงสร้างแยกตัวแบบแทรกสอด (intercalated) และมอนต์มอริลโลไนต์ที่ดัดแปรด้วย octadecylamine ที่ปริมาณร้อยละ 3 โดยน้ำหนัก จะให้ค่าช่องว่างระหว่างชั้นของแผ่นอะลูมิเนียมซิลิเกตสูงที่สุด จากนั้นนำมอนต์มอริลโลไนต์ที่ดัดแปรด้วย octadecylamine ที่ปริมาณร้อยละ 3 โดยน้ำหนัก ไปใช้ในสูตรสารเคลือบผิวที่มีอะคริลิกเป็นสารยึด โดยแปรเปลี่ยนปริมาณมอนต์มอริลโลไนต์ดัดแปรและมอนต์มอริลโลไนต์ไม่ดัดแปรในปริมาณต่างๆ คือ ร้อยละ 1, 2 และ 3 โดยน้ำหนัก จากนั้นทดสอบสมบัติทางกายภาพของฟิล์มสารเคลือบผิว จากผลการทดสอบพบว่าความทนทานต่อการขูดขีดของฟิล์มที่ได้จากมอนต์มอริลโลไนต์ดัดแปรจะมีค่าสูงกว่าฟิล์มที่ได้จากการใช้มอนต์มอริลโลไนต์ไม่ดัดแปร หรือว่าสูงกว่าฟิล์มที่เตรียมได้จากการใช้สารยึดเพียงอย่างเดียว และเสถียรภาพทางความร้อนของฟิล์มจากการใช้มอนต์มอริลโลไนต์ดัดแปรที่ปริมาณร้อยละ 3 โดยน้ำหนัก จะมีเสถียรภาพทางความร้อนดีกว่าฟิล์มที่ได้จากการใช้สารยึดเพียงอย่างเดียวและฟิล์มที่มีการใช้มอนต์มอริลโลไนต์ที่ไม่ผ่านการดัดแปรen
dc.description.abstractalternativeIn this research organophillic montmorillonite was prepared by a cationic exchange process between the Na[superscript +] ions of montmorillonite and ammonium ion of quaternary ammonium salt of dodecylamine (C12), hexadecylamine (C16), octadecylamine (C18) with various amounts of alkylamine of 1%, 2% and 3% by weight. The obtained organophillic montmorillonite studied by X-ray diffraction (XRD) technique and Fourier transfor infrared (FT-IR). The XRD profile showed intercalated structure of modified montmorillonite. Octadecylamine 3% by weight modified montmorillonite gave highest d-spacing value. The octadecylamine modified clay was then used in acrylic coating formulations with various amounts of clay at 1%, 2% and 3% by weight. Physical properties of coating films with modified montmorillonite showed significant enhancement in hardness relative to those with unmodified montmorillonite. The thermal stability of the coating film with 3% by weight of modified montmorillonite was higher than that of pure acrylic film and coating film with 3% by weight of unmodified montmorillonite.en
dc.format.extent2575828 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectมอนต์มอริลโลไนต์en
dc.subjectสารเคลือบen
dc.subjectอะคริลิกเรซินen
dc.titleการดัดแปรมอนต์มอริลโลไนต์สำหรับสารเคลือบผิวอะคริลิกen
dc.title.alternativeModification of montmorillonite for acrylic coating agenten
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์พอลิเมอร์ประยุกต์และเทคโนโลยีสิ่งทอes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisor[email protected]-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
thatsaporn.pdf2.52 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.