Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8039
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ศิริวัฒนา บัญชรเทวกุล | - |
dc.contributor.author | นเรศร์ จันทน์ขาว | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2008-09-08T07:42:35Z | - |
dc.date.available | 2008-09-08T07:42:35Z | - |
dc.date.issued | 2536 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8039 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้เป็นการศึกษา เทคนิคการวัดความเข้มข้นของน้ำชนิดหนักในช่วงร้อยละ 0 ถึง 100 โดยโมล โดยการใช้นิวตรอนพลังงานปานกลาง นิวตรอนเร็วที่ปลดปล่อยจากต้นกำเนิดรังสีอเมริเซียม -241/เบริลเลียม ความแรง 1.11 กิกะเบคเคอเรล จำนวน 3 ตัว ถูกหน่วงความเร็วลงก่อนด้วยโพลีเอทิลีน แล้วใช้แผ่นแคดเมียมและโปรอนกรองนิวตรอนช้าออกไป เพื่อให้เหลือแต่นิวตรอนพลังงานปานกลางผ่านไปถึงตัวอย่าง ระบบเริ่มแรกใช้ตัวอย่าง 100 มิลลิลิตร โดยให้นิวตรอนพลังงานปานกลางตกกระทบด้านหนึ่งของตัวอย่าง และมีหัววัดรังสีนิวตรอนช้าชนิด NE905 ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 2.5 เซนติเมตร หนา 0.3 เซนติเมตร วางอยู่ที่ด้านตรงกันข้าม ผลการวิจัยพบว่าความเข้มรังสีนิวตรอนช้าลดลงเมื่อความเข้มข้นของน้ำชนิดหนักเพิ่มขึ้น ระบบที่สองได้จัดให้นิวตรอนพลังงานปานกลางผ่านไปยังตัวอย่างโดยรอบทิศทาง โดยมีหัววัดรังสี NE905 ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 2.5 เซนติเมตร หนา 1 เซนติเมตร จุ่มอยู่ในตัวอย่างชนิดหนัก 500 มิลลิลิตร ซึ่งก็ได้ความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มของรังสีนิวตรอนช้า กับความเข้มข้นของน้ำชนิดหนักในลักษณะเดียวกันโดยมีความเข้มรังสีและความไวเพิ่มขึ้น ความเที่ยงตรงในการวัดความเข้มข้นของน้ำชนิดหนักมีค่าอยู่ในช่วงดีกว่า +- ร้อยละ 0.5 (2 [sigma]) โดยโมล สำหรับเวลานับรังสี 1000 วินาที ส่วนความแม่นยำขึ้นอยู่กับกระบวนการสร้างกราฟปรับเทียบ | en |
dc.description.abstractalternative | A technique for measurement of heavy water concentration in the rage of 0 to 100% by mole using intermediate neutron moderation was experimentally investigated. Fast neutrons, emitted from three 1.11 GBq [superscript 241] Am/Be sources, were first slowed down by using polyethylene then the slow neutrons were filtered out using cadmium and boron sheets allowing only intermediate neutrons to reach the sample. In the first set-up, the system was arranged so that the intermediate neutron beam was incident only on one side of the 100 ml sample while a 2.5 cm diameter, 0.3 cm thick NE905 detector was placed on the other side to measure slow neutrons. It was found that the intensity of thermal neutrons decreased with increasing heavy water concentration. In the second set-up, the system was arranged so that the intermediate neutrons were incident to the sample from all directions. A 2.5 cm diameter, 1 cm thick NE905 detector was submerged in a 500 ml heavy water sample. Similar relationship between the thermal neutron intensity and heavy water concentration was obtained with increase in the intensity and the sensitivity. The precision of the measurement was found to be better than +- 0.5% (2[sigma]) by mole of heavy water concentration for 1000s counting time with the accuracy depending upon the calibration procedure. | en |
dc.description.sponsorship | ทุนส่งเสริมการวิจัยวิศวกรรมศาสตร์ งบประมาณแผ่นดินปี 2535 | en |
dc.format.extent | 6263647 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.ispartofseries | โครงการวิจัยเลขที่ 121-EEC-2534 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | นิวตรอน | en |
dc.subject | น้ำ | en |
dc.title | การวัดความเข้มข้นของน้ำชนิดหนักโดยใช้นิวตรอนพลังงานปานกลาง | en |
dc.title.alternative | Measurement of heavy water concentration by intermediate neutron moderation | en |
dc.type | Technical Report | es |
dc.email.author | [email protected], [email protected] | - |
dc.email.author | [email protected] | - |
Appears in Collections: | Eng - Research Reports |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Siriwattana_mea.pdf | 6.12 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.