Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8384
Title: | การจัดเส้นทางเดินรถเพื่อการกระจายสินค้าโดยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ |
Other Titles: | A GIS-based vehicle routing for goods distribution |
Authors: | สุทธิพงษ์ มีใย |
Advisors: | สมพงษ์ ศิริโสภณศิลป์ ศรีสอาด ตั้งประเสริฐ |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย |
Advisor's Email: | [email protected] [email protected] |
Subjects: | สินค้า -- การขนส่ง ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ ซอฟต์แวร์ -- การพัฒนา |
Issue Date: | 2549 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | การวิจัยนี้เป็นการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการจัดเส้นทางเดินรถเพื่อการกระจายสินค้า โดยรถจากศูนย์กระจายสินค้าแห่งเดียวไปยังจุดส่งต่างๆ โดยวิธีฮิวริสติกภายใต้ข้อจำกัดด้านความจุ ได้แก่น้ำหนักรถ ปริมาตรที่สามารถบรรทุกได้ และข้อจำกัดของจุดส่ง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ ประหยัดต้นทุนการขนส่ง การพัฒนาระบบประกอบด้วยงาน 3 ส่วนหลักได้แก่ 1) การรวบรวมข้อมูล การกระจายสินค้าจากบริษัทตัวอย่างที่เป็นกรณีศึกษา 2) พัฒนาวิธีการจัดเส้นทางเดินรถด้วยการ ประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ และ 3) พัฒนาระบบช่วยสนับสนุนการตัดสินใจที่ให้ผู้ใช้ระบบ มีส่วนร่วมในการจัดเส้นทาง การทดสอบระบบประกอบด้วย 1) การทดสอบโดยใช้ข้อมูลจากการศึกษา อื่นที่ผ่านมา และ 2) การทดสอบกับข้อมูลจริงที่ได้จากศูนย์กระจายสินค้าบริษัทตัวอย่างที่เป็นกรณี ศึกษา ผลการทดสอบพบว่า ระบบที่พัฒนาขึ้นให้ผลการทดสอบดีกว่าการศึกษาอื่นที่ผ่านมาในหลายๆ กรณี โดยเฉพาะกรณีที่มีจำนวนจุดส่งไม่เกิน 30 จุดส่ง หากจำนวนจุดส่งเพิ่มขึ้น ผลลัพธ์ที่ได้ จะด้อยกว่าการศึกษาอื่น ประมาณร้อยละ 5-10 ในขณะที่ทดสอบกับข้อมูลปฏิบัติงานจริง แบบจำลอง ที่พัฒนาให้ผลการจัดเส้นทางในทุกๆ ปัญหาดีกว่าการจัดเส้นทางด้วยพนักงาน |
Other Abstract: | This study develops a computerized program for routing vehicles from a distribution centre to multiple delivery districts. The study applies heuristic techniques to determine the optimal routing under the constraints reflecting vehicle capacities considering both weight and volume limit and site restrictions with the objective to minimize total transportation cost. The development of this system is comprised of 3 major tasks. The first task involves the collection of data about the goods distribution from a selected test site. The next task develops the algorithm for determining vehicle with certain application of the GIS. The final task concerns the development of interface facilitating user interaction with the system. The system is validated against 1) hypothetical problem sets used by earlier studies and 2) the historical operational data experienced from the test site. The analysis shows that the developed system performs well for the case of delivery points less than 30, but the solutions generated by the system are about 5-10% inferior then those proposed by previous studies if there are more than 30 delivery points. In testing against the actual operational data, the results significantly show better performance than the existing manual system for all cases. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 |
Degree Name: | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | การจัดการด้านโลจิสติกส์ (สหสาขาวิชา) |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8384 |
URI: | http://doi.org/10.14457/CU.the.2006.1442 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.14457/CU.the.2006.1442 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Sutthipong.pdf | 1.83 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.