Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9052
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สันติ ถิรพัฒน์ | - |
dc.contributor.author | ภวิกา ศศิวงศ์ภักดี | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี | - |
dc.coverage.spatial | ไทย | - |
dc.date.accessioned | 2009-06-13T03:59:49Z | - |
dc.date.available | 2009-06-13T03:59:49Z | - |
dc.date.issued | 2543 | - |
dc.identifier.isbn | 9743463038 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9052 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 | en |
dc.description.abstract | ศึกษาต้นทุนทางอ้อมของภาวะปัญหาทางการเงินในประเทศไทย เนื่องจากยังไม่มีบทสรุปอย่างแน่ชัดเกี่ยวกับ ผลกระทบของภาวะปัญหาทางการเงินที่มีต่อ การดำเนินงานของบริษัทว่าจะก่อให้เกิดประโยชน์ หรือก่อให้เกิดความสูญเสียอย่างมากในมูลค่า งานวิจัยนี้จึงศึกษาความสัมพันธ์ ระหว่างปัญหาทางการเงินและการดำเนินงานของบริษัท โดยทดสอบว่าบริษัทที่มีสัดส่วนหนี้ในระดับสูง จะมีแนวโน้มประสบกับผลการดำเนินงานที่ตกต่ำลง ในช่วงที่อุตสาหกรรมประสบปัญหามากกว่าบริษัทอื่นหรือไม่ ซึ่งผลการดำเนินงานวัดจากการเติบโตของยอดชาย การเปลี่ยนแปลงในกำไรจากการดำเนินงานและผลตอบแทนหุ้น โดยปรับกับค่าเฉลี่ยของอุตสาหกรรม โดยการศึกษานี้ได้พยายามที่จะลดปัญหาของการแปลผลกลับ ระหว่างผลการดำเนินงานที่ตกต่ำและภาวะปัญหาทางการเงิน นอกจากนี้วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ได้ศึกษาความสัมพันธ์ ระหว่างขนาดและผลการดำเนินงานบริษัท และยังทดสอบว่า ภาวะทางการเงินของบริษัท มีผลกระทบต่อ การตัดสินใจที่สำคัญของบริษัทอย่างไร ในช่วงประสบปัญหาทางเศรษฐกิจอีกด้วย กลุ่มข้อมูลประกอบด้วย 1,619 บริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ในช่วงปี 1990 ถึง ปี 1999 โดยงานศึกษานี้ไม่สามารถสรุปได้อย่างชัดเจนว่า ภาวะปัญหาทางการเงินก่อให้เกิดต้นทุนที่สูง เนื่องจากบริษัทที่มีสัดส่วนหนี้ในระดับสูง มีผลการดำเนินงานที่ตกต่ำลงอย่างไม่มีนัยสำคัญ ในภาวะที่อุตสาหกรรมอยู่ในช่วงตกต่ำ ซึ่งผลการทดสอบเป็นเช่นเดียวกับการศึกษา เกี่ยวกับขนาดบริษัทและการตอบสนองของบริษัท ในช่วงที่ประสบปัญหาทางเศรษฐกิจ อย่างไรก็ตามงานศึกษานี้พบว่า บริษัทที่มีสัดส่วนหนี้ระดับสูง มีแนวโน้มที่จะประสบกับการลดลงของกำไร จากการดำเนินงานมากกว่าคู่แข่ง แม้ว่าจะอยู่ในช่วงเวลาที่ดีก็ตาม นอกจากนี้บริษัทที่มีสัดส่วนการลงทุนในอดีตสูง ซึ่งถูกกำหนดโดยสินทรัพย์ถาวรต่อสินทรัพย์รวมนั้น จะส่งผลต่อการดำเนินงานของบริษัท โดยการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญของการเติบโตของยอดขาย และการเปลี่ยนแปลงในกำไรจากการดำเนินงาน | en |
dc.description.abstractalternative | To analyze the indirect costs of financial distress in Thailand because there is no conclusion on how financial distress affects corporate performance by creating the benefits or generating the significant losses in value. This paper investigates the link between financial distress and corporate performance by testing whether firms with high leverage are more likely to experience performance losses in industry downturns than other firms. Firm performance is measured by sales growth, changes in operating income and stock returns relative to industry average. This study also tries to minimize the problem of reverse causality between the poor performance and financial distress. Besides, this thesis further investigates the relation between firm size and corporate performance and also examines how a firm's financial condition affects important corporate decisions during time of economic distress. The sample consists of 1,619 publicy traded firm-years in the 1990 to 1999. This study finds no obvious conclusion that financial distress are costly because the highly leverage firms have insignificant performance losses in industry downturn. A similar result takes place in firm size and the firm's response in period of economic distress. However, the result indicates that the highly leverage firms tend to experience lower operating income than their competitors even in a good time. Moreover, the firms that have high prior investment rate, as proxied by fix assets to total assets, have influenced on firm performance by increasing significant sales growth and changes in operating income. | en |
dc.format.extent | 690091 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2000.230 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | บริษัท -- ไทย -- การเงิน | en |
dc.subject | บริษัท -- การเงิน | en |
dc.title | ภาวะปัญหาทางการเงินและการดำเนินงานของบริษัทในประเทศไทย | en |
dc.title.alternative | Financial distress and corporate performance in Thailand | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | การเงิน | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | [email protected] | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2000.230 | - |
Appears in Collections: | Acctn - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Pavika.pdf | 673.92 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.