Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9471
Title: ความต้านทานการกัดกร่อนของแผ่นเหล็กไม่ชุบดีบุกแต่เคลือบแลกเกอร์ และแผ่นเหล็กชุบดีบุกและเคลือบแลกเกอร์
Other Titles: Corrosion resistance of lacquered tin-free steel and lacquered tinplate
Authors: ประไพ ไทยสุริยะ
Advisors: ไพพรรณ สันติสุข
เสาวรจน์ ช่วยจุลจิตร์
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Advisor's Email: ไม่มีข้อมูล
[email protected]
Subjects: การกัดกร่อนและการป้องกันการกัดกร่อน
การชุบเคลือบผิวด้วยโลหะ
แผ่นเหล็กเคลือบดีบุก
แผ่นเหล็กเคลือบโครเมียม
อีพอกซีเรซิน
แลกเกอร์
ภาชนะบรรจุอาหาร
Issue Date: 2540
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: ประเมินความเหมาะสมในการใช้แผ่นเหล็กไม่ชุบดีบุก เพื่อทำกระป๋องบรรจุอาหารแทนแผ่นเหล็กชุบดีบุก ซึ่งมีราคาสูงกว่ามาก โดยการเคลือบแลกเกอร์ทับเพื่อเพิ่มความทนทานต่อการกัดกร่อน และทนต่อรอยเปื้อน โดยเลือกแลกเกอร์ชนิดอีพอกซี-ฟีนอลิก และอีพอกซี-แอไมด์ การทดสอบที่ใช้ในการวิจัยนี้ได้แก่ การบ่มตัวของแลกเกอร์ ความทนซันเฟอร์ ความทนการกัดกร่อนและความทนสารเคมีต่างๆ ในภาวะที่กำหนดของแผ่นเหล็กทั้งสอง และเคลือบด้วยแลกเกอร์ทั้งสองชนิดดังกล่าว ในการวิจัยพบว่า ทั้งแผ่นเหล็กชุบดีบุกและแผ่นเหล็กไม่ชุบดีบุก เมื่อเคลือบด้วยแลกเกอร์ทั้งสองชนิดแล้ว สามารถทนทานต่อการกัดกร่อนในภาวะต่างๆ ของการทดสอบได้ใกล้เคียงกัน ยกเว้นในสารละลาย 3% acetic acid+2% NaCl, 1% lactic acid, citric acid pH 3.5 และในน้ำตาลเข้มข้น 20% ที่แผ่นเหล็กไม่ชุบดีบุกไม่สามารถนำมาใช้งานแทนแผ่นเหล็กชุบดีบุกได้ แต่แผ่นเหล็กไม่ชุบดีบุกมีการยึดเกาะกับแลกเกอร์ได้ดีกว่า
Other Abstract: Aimed to evaluate the characteristics of tin-free steel for use as food containers compared with the more expensive tinplate. Two types of lacquers : epoxy-phenolic and epoxy-amide were used to increase the corrosion resistance and stain resistance of the plates. Tests include curing of lacquers, sulfur resistance, salt spray and chemicals resistance were performed at the specified conditions for both lacquered tinplate and tin-free steel. It is found that both tin-free steel and tinplate with lacquer coating can resist the tests under various conditions except in these solutions : 3% acetic acid + 2% NaCl, 1% lactic acid, citric acid pH 3.5 and 20% sugar that tin-free steel can not replace tinplate but tin-fre steel possesses better lacquer adhesion.
Description: วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540
Degree Name: วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: วิทยาศาสตร์พอลิเมอร์ประยุกต์และเทคโนโลยีสิ่งทอ
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9471
ISBN: 9746832721
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Prapai_Th_front.pdf773.91 kBAdobe PDFView/Open
Prapai_Th_ch1.pdf697.57 kBAdobe PDFView/Open
Prapai_Th_ch2.pdf1 MBAdobe PDFView/Open
Prapai_Th_ch3.pdf733.21 kBAdobe PDFView/Open
Prapai_Th_ch4.pdf868.44 kBAdobe PDFView/Open
Prapai_Th_ch5.pdf715.32 kBAdobe PDFView/Open
Prapai_Th_back.pdf1.41 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.