Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9520
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริวัฒนา บัญชรเทวกุล-
dc.contributor.authorขวัญชนก จันทร์สว่าง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-08-03T09:15:41Z-
dc.date.available2009-08-03T09:15:41Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9740304632-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9520-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en
dc.description.abstractการศึกษาผลของการฉายรังสีแกมมาร่วมกับการย่อยสลายด้วยสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์/ยูเรีย ที่ระดับความเข้มข้นและระยะเวลาการปล่อยให้ย่อยสลายต่างๆ กัน ในการย่อยสลายโมเลกุลของฟางข้าว กากอ้อย และเถาถั่วลิสง โดยการวิเคราะห์หาค่า NDF, ADF, ADL เซลลูโลส เฮมิเซลลูโลส และลิกนิน เปรียบเทียบกับกระบวนการปล่อยให้ย่อยสลายด้วยสารเคมี ผลการทดลองที่ได้ พบว่า การฉายรังสีแกมมาร่วมกับการปล่อยให้ย่อยสลายด้วยสารเคมี ทำให้ปริมาณ NDF ซึ่งเป็นผลรวมของปริมาณเซลลูโลส เฮมิเซลลูโลส และลิกนิน ในฟางข้าว กากอ้อยและเถาถั่วลิสง ลดลงได้มากกว่ากระบวนการย่อยสลายด้วยสารเคมีเพียงอย่างเดียว ยกเว้น ฟางข้าวและกากอ้อย ที่ฉีดพ่นด้วย 20%NaOH เป็นปริมาณ 30% และปล่อยให้ย่อยสลายเป็นเวลา 1-3 วัน เพียงอย่างเดียว นอกจากนั้นยังพบว่า การใช้สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์มีผลทำให้ปริมาณ NDF ลดลงได้มากกว่าการใช้สารละลายยูเรีย ซึ่งผลของปริมาณ NDF ทึ่ลดลงในฟางข้าว กากอ้อย และเถาถั่วลิสง เมื่อใช้สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์เท่ากับ 50-52%, 48-49% และ 46% ตามลำดับ และเมื่อใช้สารละลายยูเรียเท่ากับ 25%, 19% และ 14-17% ตามลำดับen
dc.description.abstractalternativeMolecular degradation of rice straw, sugar cane bagasse, and peanut straw by gamma irradiation with chemicals (sodium hydroxide or urea) treatment at various concentrations and degrading times were studied. The results showed that combination effect of gamma irradiation with chemical treatment on these materials could reduce the NDF contents to lower level than chemical treatment only, except for rice straw and sugar cane bagasse with 30%NaOH of 20% sodium hydroxide treatment and 1-3 days degradation. The results also indicated that sodium hydroxide solution had higher effect in NDF reduction than urea solution. NDF reduction in rice straw, sugar cane bagasse, and peanut straw were 50-52%, 48-49% and 46%, respectively, for sodium hydroxide solution treatment, and were 25%, 19% and 14-17%, respectively, for urea solution treatment.en
dc.format.extent761072 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการย่อยสลายทางชีวภาพen
dc.subjectของเสียทางการเกษตรen
dc.subjectรังสีแกมมาen
dc.subjectโซเดียมไฮดรอกไฮด์en
dc.subjectยูเรียen
dc.titleการย่อยสลายโมเลกุลของวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรโดยกระบวนการฉายรังสีแกมมาร่วมกับโซเดียมไฮดรอกไซด์/ยูเรียen
dc.title.alternativeMolecular degradation of agricultural waste by the gamma-ray irradiation and sodium hydroxide/urea treatment processen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิวเคลียร์เทคโนโลยีes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisor[email protected]-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kwuanchanok.pdf743.23 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.