Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9723
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorไพศาล สันติธรรมนนท์-
dc.contributor.authorภาณุ อุทัยศรี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-08-06T04:45:27Z-
dc.date.available2009-08-06T04:45:27Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.isbn9741751923-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9723-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en
dc.description.abstractการนำเสนอแผนที่ผ่านอินเทอร์เน็ต แต่เดิมส่วนใหญ่การนำเสนอจะเป็นเพียงแผนที่สถิตเท่านั้น นอกเหนือจากแผนที่สถิตซึ่งเป็นภาพนิ่งเพียงอย่างเดียว ยังสามารถนำเสนอในรูปแบบแผนที่พลวัตได้อีกด้วย แผนที่พลวัต เป็นการนำเสนอแผนที่ด้วยการใช้เทคนิคการนำภาพเคลื่อนไหวมาช่วยในการนำเสนอแผนที่เพื่อให้เห็นการเปลี่ยนแปลของข้อสนเทศในแผนที่ได้อย่างชัดเจนการวิจัยครั้งนี้เป็นการทดลองพัฒนาการสร้างแผนที่พลวัตด้วยเทคนิคต่าง ๆ ในการสร้างภาพเคลื่อนไหว 3 เทคนิคด้วยซอฟต์แวร์รหัสเปิด คือ เทคนิคแบบ Animated GIF เทคนิค CSS+Java scripts และเทคนิค Shockwave flash เพื่อคัดเลือกเทคนิคที่เหมาะสมสำหรับใช้ในการสร้างแผนที่พลวัตผ่านอินเทอร์เน็ต ส่วนเทคนิคในการนำเสนอแผนที่ผ่านอินเทอร์เน็ตเพื่อให้ผู้ใช้เลือกบริเวณที่ต้องการสร้างเป็นแผนที่พลวัตใช้ซอฟต์แวร์รหัสเปิด Minnesota MapServer โดยเลือกทำงานบนระบบปฏิบัติการวินโดว์ ข้อมูลปริภูมิที่ใช้ในการนำเสนอใช้ทั้งข้อมูลเวกเตอร์และข้อมูลราสเตอร์ ข้อมูลเวกเตอร์ใช้ข้อมูลแผนที่ประเทศไทย มาตราส่วน 1:250,000 ส่วนข้อมูลราสเตอร์ที่ใช้เป็นตัวอย่างในการนำเสนอความเปลี่ยนแปลงของข้อสนเทศในแผนที่ใช้ข้อมูลดาวเทียมโมดิส รายละเอียดจุดภาพ 1 ตารางกิโลเมตรพื้นที่ครอบคลุมประเทศไทย ผลการศึกษาได้เลือกเทคนิค Shockwave Flash ในการสร้างแผนที่พลวัตเนื่องจากไฟล์ที่ได้มีขนาดเล็กเหมาะกับข้อมูลโมดิสที่มีขนาดใหญ่ แม้จะต้องติดตั้งโปรแกรม เสริมสำหรับแสดงผล แต่ก็มีขนาดไม่ใหญ่ติดตั้งง่าย ไม่มีค่าลิขสิทธิ์ และมีการใช้งานอย่างแพร่หลายบนเว็บไซท์การนำเสนอข้อมูลปริภูมิด้วยซอฟต์แวร์รหัสเปิด Minnesota MapServer สามารถแสดงผลได้ดี ทั้งข้อมูลเวกเตอร์ และราสเตอร์ เมื่อนำมาบูรณาการเข้ากับเทคนิคการสร้างภาพเคลื่อนไหว ทำให้ผู้ใช้งานสามารถเลือกดูข้อมูลปริภูมิผ่านทางอินเตอร์เน็ต และยังเลือกบริเวณที่สนใจ และเลือกจำนวนข้อมูลดาวเทียมเพื่อสร้างเป็นแผนที่พลวัตผ่านทางอินเทอร์เน็ตได้อย่างมีประสิทธิภาพen
dc.description.abstractalternativeConventional map presentation on Internet is done by using static maps technique. However, dynamic maps can be better represented using animated images in order to display the information changes. This research is to study and develop dynamic maps by various animation techniques using open source software. These techniques include Animated GIF, Cascade Style Sheet with Java Scripts and Shockwave Flash technique. The objective of the study is to consider the most appropriate technique for dynamic map presentation over the internet using open source solution. The free and open source Minnesota MapServer is use to act as map server engine. The spatial information used in this research are vector and raster data from topographic map scale 1 : 250,000 and 14 samples of MODIS satellite image resolution 1 km2 received from Thai ground receiving station covering Thailand, respectively. MODIS satellite images which can be renewed every two days is good example of dynamic information. From the study, Shockwave Flash is the most appropriate technique in order to represent dynamic map presentation over Internet due to the small file size which is suitable for accommodating large MODIS file. The MODIS file format is compressed into JPEG file at Jpeg quality 80. Then the visually lossless MODIS images are converted into dynamic map where as the file size is 8 times less than the original. The quality of the image is still maintained on Internet browser and the image degradation can be insignificantly observed on Internet browser. For spatial information representation using open source software, Minnesota MapServer can deliver both vector and raster data. The integration of animated technique and Minnesota MapServer enables users to view dynamic spatial information over the Internet. The user can select area of interest and number of satellite images to be displayed in order to create dynamic maps over internet effectively. The user can interactively control the output result i.e. play, stop, forward and reverse the sequence of maps to compare the changes.en
dc.format.extent2706009 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectแผนที่en
dc.subjectอินเตอร์เน็ตen
dc.subjectโอเพนซอร์สซอฟต์แวร์en
dc.titleการนำเสนอแผนที่พลวัตผ่านอินเทอร์เน็ตด้วยซอฟต์แวร์รหัสเปิดen
dc.title.alternativePresentation of dynamic map over Internet using open source softwareen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineระบบสารสนเทศปริภูมิทางวิศวกรรมes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisor[email protected]-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Phanu.pdf2.64 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.