Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15007
Title: | เชื้อเพลิงแข็งจากขยะมูลฝอยชุมชนอัดแท่ง |
Other Titles: | Solid fuel from compressed dry municipal waste |
Authors: | อรรถกร ฤกษ์วิรี |
Advisors: | ทวีวงศ์ ศรีบุรี |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย |
Advisor's Email: | [email protected] |
Subjects: | พลังงานจากขยะ การใช้ของเสียให้เป็นประโยชน์ |
Issue Date: | 2549 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | การวิจัยนี้เป็นการทดสอบเพื่อหาความเหมาะสมในการนำขยะมูลฝอยชุมชนมาทำเป็น เชื้อเพลิงอัดแท่ง โดยนำขยะมูลฝอยชุมชน 2 ประเภท ได้แก่ เศษกระดาษ และเศษไม้/ใบไม้ มาผสมกันในอัตราส่วนต่างกัน 5 อัตราส่วน คือ เศษกระดาษต่อเศษไม้และใบไม้ 95%:5%, 75%:25%, 50%:50%, 25%:75% และ 5%:95% โดยน้ำหนัก และทำการวิเคราะห์หาปริมาณค่าความร้อน เพื่อหาว่าอัตราส่วนใดให้ค่าปริมาณความร้อนสูงที่สุด จากผลการทดลองพบว่าในการอัดแท่งเชื้อเพลิงสามารถอัดแท่งเชื้อเพลิงได้โดยไม่ ต้องใช้ตัวประสาน แต่ในการอัดแท่งเชื้อเพลิงบางอัตราส่วนต้องมีการเพิ่มปริมาณความชื้นในการ อัดแท่งเข้าไปอีก และจากการวิเคราะห์ค่าความร้อนที่ได้พบว่า อัตราส่วนที่ให้ปริมาณค่าความร้อนสูงที่สุด คือ เศษกระดาษต่อเศษไม้และใบไม้ 95%:5% โดยน้ำหนัก ซึ่งให้ค่าความร้อนเฉลี่ย 3,518.06 แคลอรี่ต่อกรัม (cal/g) สำหรับเชื้อเพลิงแห้ง และ 4,314.16 cal/g สำหรับถ่านเชื้อเพลิง ซึ่งสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้เช่นเดียวกับถ่านแกลบ หรือถ่านชานอ้อย เป็นต้น |
Other Abstract: | This research is aimed at finding an appropriate way to make use of municipal waste in producing the solid compressed dry fuel. In the research, two types of municipal waste, paper scraps and wood chips/leaves, were mixed in 5 varied ratios of weight: 95%:5%, 75%:25%, 50%:50%, 25%:75%, and 5%:95%, respectively. The study revealed that it was not necessary to add the binder in compressing the fuel; however, more humidity was required for some ratios. According to the analysis of calorific value, the ratio 95%:5% produced the highest calorific value, approximately 3,518.06 cal/g for dry fuel and 4,314.16 cal/g for charcoal; so they could substitute rice straw, rice husk, or bagaase. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 |
Degree Name: | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | วิทยาศาสตร์สภาวะแวดล้อม (สหสาขาวิชา) |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15007 |
URI: | http://doi.org/10.14457/CU.the.2006.150 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.14457/CU.the.2006.150 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Atthakorn_Re.pdf | 2.37 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.