Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18027
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุวัฒนา วงษ์กะพันธ์
dc.contributor.authorอธิพร จันทรประทิน
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์
dc.date.accessioned2012-03-17
dc.date.available2012-03-17
dc.date.issued2552
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18027
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ความสัมพันธ์ของการเปิดรับข่าวสาร ความรู้ และ ทัศนคติ ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายในกรุงเทพมหานครที่มีต่อระบบแอดมิชชั่นส์ ปี 2553 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยมีทั้งสิ้น 402 คน เครื่องมือที่ใช้ในการจัดเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ t-test การวิเคราะห์ ความแปรปรวนแบบ ANOVA และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียรสัน ซึ่งประมวลผลโดยใช้ โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS for Windows ผลการวิจัยมีดังต่อไปนี้ 1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่มี แผนการเรียน เกรดเฉลี่ยสะสม และรายได้เฉลี่ย รวมของครอบครัวแตกต่างกัน มีการเปิดรับข่าวสารเกี่ยวกับระบบแอดมิชชั่นส์ที่แตกต่างกัน 2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา แผนการเรียน และ เกรดเฉลี่ยสะสมแตกต่างกัน มีความรู้เกี่ยวกับระบบแอดมิชชั่นส์ที่แตกต่างกัน 3. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่มี เพศ แผนการเรียน และเกรดเฉลี่ยสะสมแตกต่าง กัน มีทัศนคติเกี่ยวกับระบบแอดมิชชั่นส์ที่แตกต่างกัน 4. การเปิดรับข่าวสารไม่มีความสัมพันธ์กับความรู้เกี่ยวกับระบบแอดมิชชั่นส์ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาตอนปลาย 5. การเปิดรับข่าวสารมีความสัมพันธ์ในเชิงบวกกับทัศนคติเกี่ยวกับระบบแอดมิชชั่นส์ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 6.ความรู้มีความสัมพันธ์ในเชิงลบกับทัศนคติเกี่ยวกับระบบแอดมิชชั่นส์ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาตอนปลายen
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research was to study the correlations among media exposure, knowledge and attitude of high school students in Bangkok on national university admissions in 2010. Questionnaires were used to collect the data from a total of 402 samples. Frequency, Mean, Percentage, T-test, One-way ANOVA and Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient were employed for the analysis of the data, SPSS for Windows Program was used for data processing. The results of the research were as follows 1. Those different in program study, gpax and income were exposed to information about national university admissions differently. 2. Those different in sex, age, education level, program study and gpax were different in knowledge of national university admissions. 3. Those different in sex, program study and gpax were different in attitude towards national university admissions. 4. Media exposure did not correlated with knowledge of students on national university admissions. 5. Media exposure positively correlated with attitude of students on national university admissions. 6. Knowledge negatively correlated with attitude of students on national university admissions.en
dc.format.extent3907441 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.457-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการเปิดรับข่าวสาร
dc.subjectการสื่อสารทางการศึกษา
dc.subjectนักเรียน -- ทัศนคติ
dc.subjectสถาบันอุดมศึกษา -- การรับนักศึกษา
dc.subjectMedia exposure
dc.subjectStudents -- Attitudes
dc.subjectCommunication in education
dc.subjectUniversities and colleges -- Admission
dc.titleการเปิดรับข่าวสาร ความรู้ และทัศนคติ ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายในกรุงเทพมหานครที่มีต่อระบบแอดมิชชั่นส์ ปี 2553en
dc.title.alternativeMedia exposure, knowledge and attitude of students in Bangkok on national university admissions in 2010en
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิเทศศาสตรพัฒนาการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisor[email protected]
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.457-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
athiphorn_ch.pdf3.82 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.