Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25194
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนพรัตน์ รุ่งอุทัยศิริ-
dc.contributor.authorศักดิ์ระพี อินซีอาจ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี-
dc.date.accessioned2012-11-22T04:43:20Z-
dc.date.available2012-11-22T04:43:20Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.isbn9741744021-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25194-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (สต.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en
dc.description.abstractในการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิดและกระบวนการของแผนแบบการสุ่มตัวอย่างแบบอันดับ (Ranked Set Sampling) พร้อมทั้งทำการเปรียบเทียบประสิทธิภาพของแผนแบบการสุ่มตัวอย่างการแบบง่าย (Simple Random Sampling) กับ แผนแบบการสุ่มตัวอย่างแบบอันดับ เกณฑ์ที่ใช้ในการตัดสินใจ คือ ค่าประสิทธิภาพสัมพัทธ์ (Relative Efficiency) ในการศึกษาแผนแบบการสุ่มตัวอย่างแบบอันดับได้ทำการศึกษา กรณีที่เป็นแผนแบบการสุ่มตัวอย่างอันดับชนิดสมดุล (Balanced Ranked Set Sampling) และทำการสุ่มตัวอย่างแบบไม่ใส่คืน (Without Replacement) ซึ่งทั้งสองแผนแบบการสุ่มตัวอย่างที่ทำการศึกษาครั้งนี้ จะศึกษาเฉพาะกรณีที่เป็นการประมาณค่าเฉลี่ยของประชากร (Population Mean) เท่านั้น ผลการศึกษาได้ข้อสรุปดังนี้ แนวคิดและกระบวนการของแผนแบบการสุ่มตัวอย่างแบบอันดับถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อให้แผนแบบการสุ่มตัวอย่างมีความเหมาะสมกับลักษณะของประชากรมากที่สุด โดยแผนแบบการสุ่มตัวอย่างแบบอันดับมีความเหมาะสมกับประชากรที่ต้องการศึกษามีลักษณะแตกต่างกันมาก ประชากรที่ต้องการศึกษามีมูลค่าสูง และหน่วยตัวอย่างหาได้ยาก จากการเปรียบเทียบค่าประสิทธิภาพสัมพัทธ์ของแผนการแบบสุ่มตัวอย่าง พบว่า ค่าประสิทธิภาพสัมพัทธ์ของแผนแบบการสุ่มตัวอย่างมีค่ามากกว่าหนึ่ง ดังนั้น แผนแบบการสุ่มตัวอย่างแบบอันดับ มีประสิทธิภาพดีกว่าแผนแบบการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เมื่อใช้ขนาดตัวอย่างเป็นจำนวนเท่ากัน-
dc.description.abstractalternativeThe objective of this study is to study conceptual framework of ranked set sampling and compare the sampling method between simple random sampling (SRS) with ranked set sampling (RSS). The relative efficiency (R.E.) was used as the criteria for evaluation for precision of both method. The ranked set sampling is balanced ranked set sampling without replacement. The two sampling method had been compared the efficiency in term of accuracy for mean estimators. The conceptual framework of ranked set sampling has been developed from simple random sampling. The objective of ranked set sampling was to fine a more efficient method to estimate population mean. Ranked set sampling is more suitable when the variance of population is extreme value and the actual measurement of the variable of interest which is costly and/or time-consuming. The comparison of the relative efficiency show that the relative efficiency is more than one. That mean ranked set sampling is more efficiency than simple random sampling based on equal sample size.-
dc.format.extent1749749 bytes-
dc.format.extent1552915 bytes-
dc.format.extent3014391 bytes-
dc.format.extent1525075 bytes-
dc.format.extent7036492 bytes-
dc.format.extent1229812 bytes-
dc.format.extent915325 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleกรอบแนวคิดของแผนแบบการสุ่มตัวอย่างแบบอันดับen
dc.title.alternativeConceptual frmework of ranked set samplingen
dc.typeThesises
dc.degree.nameสถิติศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineสถิติes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Acctn - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sukrapee_in_front.pdf1.71 MBAdobe PDFView/Open
Sukrapee_in_ch1.pdf1.52 MBAdobe PDFView/Open
Sukrapee_in_ch2.pdf2.94 MBAdobe PDFView/Open
Sukrapee_in_ch3.pdf1.49 MBAdobe PDFView/Open
Sukrapee_in_ch4.pdf6.87 MBAdobe PDFView/Open
Sukrapee_in_ch5.pdf1.2 MBAdobe PDFView/Open
Sukrapee_in_back.pdf893.87 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.