Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31854
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุเมธ ชวเดช
dc.contributor.advisorเพียรพรรค ทัศดร
dc.contributor.authorอังสนา สุขะหุต
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2013-06-03T06:02:38Z
dc.date.available2013-06-03T06:02:38Z
dc.date.issued2536
dc.identifier.isbn9745818798
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31854
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2536en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดรีดักชันสารซัลเฟตในกระบวนการบำบัดแบบไม่ใช้ออกซิเจนอิสระ ในการทดลองนี้ใช้ถังหมักชนิดตัวกรองแอนแนโรบิค ถังหมักมีปริมาตรจุ 19 ลิตร วัสดุตัวกลางใช้ท่อพีวีซีขนาด 1.7 ซม. มีพื้นที่ผิวรวมทั้งหมด 604 ซม.² วัตถุดิบที่ใช้ในการทดลองเป็นน้ำกากส่าจากโรงงานสุรา ซึ่งมีปริมาณสารซัลเฟตสูงถึง 4000-5000 มก.ต่อลิตร ผลการทดลองพบว่า ประสิทธิภาพการกำจัดสารซัลเฟตลดลงเมื่อกรดไขมันระเหยและสารซัลไฟด์สะลายน้ำในถังหมักมีค่าสูงขึ้น ความเข้มข้นสารซัลเฟตสูงสุด 4730 มก.ต่อลิตร ไม่ส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพของระบบหมัก ในการทดลองนี้ระบบหมักสามารถรับสารอินทรีย์สูงสุดถึง 21.2 กก. COD ต่อ ลบ.ม.-วัน โดยระบบหมักยังไม่เสียสมดุล อัตราการรับสารอินทรีย์ที่เหมาะสมคือ 11.3 กก. COD ต่อ ลบ.ม.-วัน มีระยะเวลาเก็บกักน้ำทิ้ง 5.99 วัน จะได้ค่าประสิทธิภาพการกำจัดสารซัลเฟตสูงสุดร้อยละ 99 ประสิทธิภาพการกำจัด COD ร้อยละ 47.9 ประสิทธิภาพการผลิตแก๊สชีวภาพสูงสุด 0.13 ลบ.ม. ต่อกก. COD ที่ถูกกำจัด (0.06 ลบ.ม. ต่อ กก. COD ที่ป้อนเข้าสู่ระบบ) และมีประสิทธิภาพการผลิตแก๊สชีวภาพคิดต่อปริมาตรถังหมัก 0.71 ลบ.ม.-วัน ต่อปริมาตรถังหมัก แก๊สชีวภาพมีแก๊สมีเทนร้อยละ 45.7 มีประสิทธิภาพการผลิตแก๊สมีเทนสูงสุด 0.06 ลบ.ม. ต่อ กก. COD ที่ถูกกำจัด (0.03 ลบ.ม. ต่อ กก. COD ที่ป้อนเข้าสู่ระบบ) และมีประสิทธิภาพการผลิตแก๊สมีเทนคิดต่อปริมาตรถังหมัก 0.33 ลบ.ม.-วัน ต่อ ปริมาตรถังหมัก นอกจากนี้ยังพบว่าระบบให้ค่าประสิทธิภาพการกำจัด COD สูงสุด ร้อยละ 55.3 ที่อัตราการรับสารอินทรีย์ 9.3 กก. COD ต่อ ลบ.ม.-วัน ระยะเวลาเก็บกักน้ำทิ้ง 7.33 วัน และที่อัตราการรับสารอินทรีย์ 21.2 กก. COD ต่อ ลบ.ม.-วัน ระยะเวลาเก็บกักน้ำทิ้ง 3.81 วัน ระบบให้ค่าประสิทธิภาพการผลิตแก๊สชีวภาพและประสิทธิภาพการผลิตแก๊สมีเทนสูงสุด 1.17 และ 0.49 ลบ.ม.-วัน ต่อปริมาตรถังหมัก ตามลำดับ
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research study was to determine the factors affecting sulphate reduction in anaerobic treatment. In this experimentation, an anaerobic filter used had the volume 19 litre. The PVC tubes (𝜙1.7 cm.) were used as packing media which had the total surface area of 604 cm². The distillery waste was used as the raw material and it had the sulphate concentration of 4,000-5,000 mg/1. From the experimental results, it indicated that the sulphate reduction efficiency reduced significantly when the levels of the volatile fatty acids and the dissolved sulphide in the fermenter increased. The highest feed sulphate concentration of 4730 mg/l did not affect the system performance. The anaerobic filter could handle the highest COD loading up to 21.2 kg/m³d with good process stability. At the optimum loading of 11.3 kg COD/ m³d corresponding to HRT of 5.99 d, the system had the maximum sulphate removal of 99%, COD reduction of 47.5%, the gas yield of 0.13 m³d COD removed, (0.06 m³/kg COD fed) and gas production of 0.71 m³/ m³d. The biogas produced contained 45.7% methane. Under this loading, the system had the methane yields of 0.06 m³/kg COD removed, 0.03 m³/kg COD fed and 0.33 m³/ m³d. Moreover, under the optimum COD loading of 9.34 kg/ m³d and HRT of 7.33 d, the system had the maximum COD removal of 55.33%. The system also had the maximum biogas and methane production efficiencies of 1.17 and 0.49 m³/ m³d, respectively when it was operated at the COD loading of 21.2 kg/ m³d corresponding to HRT of 7.33 d.
dc.format.extent7630938 bytes
dc.format.extent1080200 bytes
dc.format.extent28099368 bytes
dc.format.extent4219258 bytes
dc.format.extent10657185 bytes
dc.format.extent737501 bytes
dc.format.extent60570944 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleรีดักชันของสารซัลเฟตในกระบวนการบำบัดแบบไม่ใช้ออกซิเจนอิสระ ของน้ำกากส่าen
dc.title.alternativeSulphate reduction in anaerobic treatment of distillery wasteen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีชีวภาพes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Angsana_so_front.pdf7.45 MBAdobe PDFView/Open
Angsana_so_ch1.pdf1.05 MBAdobe PDFView/Open
Angsana_so_ch2.pdf27.44 MBAdobe PDFView/Open
Angsana_so_ch3.pdf4.12 MBAdobe PDFView/Open
Angsana_so_ch4.pdf10.41 MBAdobe PDFView/Open
Angsana_so_ch5.pdf720.22 kBAdobe PDFView/Open
Angsana_so_back.pdf59.15 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.