Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36266
Title: Frauenemanzipation in Christa Wolfs Roman Kassandra und Ingeborg Bachmanns Roman Malina
Other Titles: การเรียกร้องสิทธิของสตรีในนวนิยายเรื่อง คัสซันดรา ของ คริสทา โวลฟ์ และนวนิยายเรื่อง มาลินา ของ อิงเงบอร์ก บัคมันน์
Authors: Tanawat Karnkulvithit
Advisors: Thanomnuan O'charoen
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Arts
Advisor's Email: [email protected]
Subjects: Wolfs, Christa. Kassandra -- Criticism and interpretation
Bachmanns, Ingeborg. Malina -- Criticism and interpretation
Women in literature
Women's rights -- Germany
German fiction -- History and criticism
โวลฟ์, คริสทา. คัสซันดรา -- ประวัติและวิจารณ์
บัคมันน์, อิงเงบอร์ก. มาลินา -- ประวัติและวิจารณ์
สตรีในวรรณกรรม
สิทธิสตรี -- เยอรมนี
นวนิยายเยอรมัน -- ประวัติและวิจารณ์
Issue Date: 2009
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: In der vorliegenden Magisterarbeit wird die Frauenemanzipation von zwei weiblichen Hauptfiguren, die aus unterschiedlicher Zeit sowie gesellschaftlicher Stände sind, in zwei Romanen untersucht. Diese deutschen Frauenromane des 20. Jahrhunderts sind Kassandra von Christa Wolf und Malina von Ingeborg Bachmann. Analysiert wird, wie und durch welche Methoden die Autorinnen ihre Hauptfiguren die Emanzipation im Roman durchleben lassen, wie Frauen in den zwei Romanen unterdrückt werden und in wiefern die patriarchalische Gesellschaft und die eigene Eigenschaft der Frau bei dem Erfolg der Emanzipation die Rolle spielen. Aus der Untersuchung geht hervor, dass der Prozess der Emanzipation von zwei Frauenfiguren je nach den unterschiedlichen Welteinstellungen der Autorinnen verschieden verläuft. Eine Autorin lässt ihre Figur mittels dem Bewusstsein das Ziel erreichen, während die andere ihre Figur wegen der Abhängigkeit von der Liebe verfallen. Trotzdem impliziert diese Emanzipation der Frau, dass auch Frauen das Recht und die Fähigkeit besitzen, sich in bestimmter Weise zu entwickeln und zu befreien sowie dass sie gleichberechtigt behandelt werden sollen. Neben den unterschiedlichen Emanzipationsprozessen in den Romanen, die durch die Handlungen und Äußerungen der Hauptfiguren gezeigt werden, dient das Thema Emanzipation als wertvoller Gedankenanstoß nicht nur für Frauen, sondern für alle Leute überhaupt.
Other Abstract: วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีจุดประสงค์จะวิเคราะห์กระบวนการการเรียกร้องสิทธิสตรีของตัวละครสตรีที่มีฐานันดรศักดิ์ต่างกันและอยู่ในยุคสมัยที่ต่างกันในนวนิยาย ของ คริสทา โวลฟ์ (Christa Wolf) และ อิงเงบอร์ก บัคมันน์ (Ingeborg Bachmann) โดยจะศึกษาสาเหตุและวิธีการที่ผู้หญิงถูกกดขี่ รวมทั้งนำเสนอภาพของสังคมระบบ อำนาจการปกครองของบิดาว่ามีอิทธิพลต่อการกดขี่ข่มเหงสตรีและวิเคราะห์ปัจจัยรอบด้านทั้งทางด้านสังคมและ ทางด้านความเป็นตัวตนของผู้หญิงว่ามีบทบาทต่อความสำเร็จในการเรียกร้องสิทธิของตนอย่างไร และด้วยวิธีใด จากผลการวิจัยพบว่า กระบวนการเรียกร้องสิทธิสตรีของตัวละครสตรีทั้งสองในนวนิยายนั้นมีรูปแบบที่แตกต่าง กัน ทั้งนี้เพราะนักประพันธ์สตรีทั้งสองคนมีโลกทัศน์ที่แตกต่างกัน ในขณะที่นักประพันธ์สตรีคนหนึ่งได้ให้ตัว ละครสตรีของตนบรรลุเป้าหมายและได้รับความสำเร็จในการเรียกร้อง แต่ทว่านักประพันธ์สตรีอีกคนหนึ่งกลับ ให้ตัวละครของตนประสบความล้มเหลวเพราะยึดมั่นในความรัก อย่างไรก็ตาม การเรียกร้องสิทธิสตรีใน นวนิยายทั้งสองเรื่องนี้แสดงให้เห็นว่าสตรีมีสิทธิและมีความสามารถที่จะพัฒนาตนเองและปลดปล่อยตนเองให้ เป็นอิสระรวมทั้งมีสิทธิที่จะได้รับการปฏิบัติที่เสมอภาคเท่าเทียมกับบุรุษ นอกจากเราจะเห็นกระบวนการ เรียกร้องสิทธิของตัวละครเอกว่ามีหลายรูปแบบทั้งด้านการกระทำและคำพูดแล้วนั้น แก่นเรื่องการเรียกร้องสิทธิ สตรีนี้ยังเป็นการกระตุ้นความคิดที่มีคุณค่าทั้งแก่สตรีและปัจเจกชนทั่วไปอีกด้วย
Description: Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2009
Degree Name: Master of Arts
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: German
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36266
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2009.1572
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2009.1572
Type: Thesis
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
tanawat_ka.pdf18.84 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.