Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49146
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ปราณี รัตนวลีดิโรจน์ | - |
dc.contributor.author | กนกวรรณ แสงเกียรติยุทธ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจัยโลหะและวัสดุ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจัยโลหะและวัสดุ | - |
dc.date.accessioned | 2016-06-29T08:59:48Z | - |
dc.date.available | 2016-06-29T08:59:48Z | - |
dc.date.issued | 2555 | - |
dc.identifier.other | ลว 15 015818 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49146 | - |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาการเตรียมซิงค์ออกไซด์จากของเสียของกระบวนการชุบสังกะสีแบบจุ่มร้อน ซึ่งผลจากวิเคราะห์แสดงให้เห็นว่า ในดรอสนั้นมีปริมาณสังกะสีเป็นองค์ประกอบอยู่สูงถึง 92% ซึ่งมากกว่าปริมาณที่พบในเถ้าถึงสองเท่า ในงานวิจัยนี้พบว่า เมื่อนำดรอสมาทำการสกัดแยกโลหะเจือปนด้วยวิธีการละลายด้วยกรดซัลฟูริกความเข้มข้น 5% ที่อุณหภูมิ 45 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 6 ชั่วโมง แล้วจึงนำมาทำการตกตะกอนด้วยวิธีการควบคุมค่า pH จะสามารถสกัดแยกปริมาณตะกั่วและเหล็กออกไปได้ถึง 99% โดยในขั้นตอนการนำสารละลายที่ผ่านการสกัดแยกแล้วมาตกตะกอนให้อยู่ในรูปของสารประกอบสังกะสีนั้น ปริมาณไฮดรอกไซด์ไอออนที่มีอยู่ในสารละลายนับเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อสมบัติของผลิตภัณฑ์ที่เตรียมได้ จากการทดลองพบว่า การตกตะกอนที่ pH 12 เป็นภาวะที่สามารถสังเคราะห์ซิงค์ออกไซด์ได้โดยไม่ต้องผ่านการรีฟลักซ์ โดยซิงค์ออกไซด์ที่เตรียมได้มีปริมาณเหล็ก ตะกั่ว และอะลูมิเนียม เหลืออยู่ที่ระดับ 0.01%, <0.005% และ <0.03% ตามลำดับ ผลจากการตรวจสอบลักษณะรูปร่างของอนุภาคพบว่า ซิงค์ออกไซด์ที่เตรียมได้จากกรณีการใช้วิธีละลายตะกอนด้วยกรดไฮโดรคลอริกความเข้มข้น 14% มีลักษณะเป็นเม็ดค่อนข้างกลมขนาดประมาณ 50-100 นาโนเมตร ส่วนอนุภาคของซิงค์ออกไซด์ที่เกิดจากการใช้วิธีละลายตะกอนด้วยกรดซัลฟูริกความเข้มข้น 5% นั้นมีรูปร่างเป็นแผ่นขนาดประมาณ 100-400 นาโนเมตร นอกจากนี้เมื่อนำซิงค์ออกไซด์ที่เตรียมได้มาทดลองประยุกต์ใช้เป็นสารยับยั้งเชื้อจุลินทรีย์ในซิลิโคน ยังพบว่า ชิ้นงานพอลิเมอร์ดังกล่าวแสดงสมบัติในการยับยั้งเชื้อ Staphylococcus aureus และ Escherichia coli ได้ดี | en_US |
dc.description.abstractalternative | The preparation of zinc oxide from hot dip galvanizing waste was studied. The analysis results showed that the zinc content in dross sample was at 92%, which was two times higher than that in ash. By leaching zinc dross with 5% sulfuric acid at 45C for 6 hrs followed by pH-controlled precipitation, 99% of Pb and Fe in the dross were selectively removed. The amount of hydroxide ion used in zinc compound precipitation step had a strong influence on the properties of the products. By controlling the solution at pH 12, the precipitate of zinc oxide could be obtained from the purified leach solution, without a need to perform refluxing. The results revealed that the zinc oxide product consisted of Fe, Pb and Al at 0.01%, <0.005% and <0.03% respectively. Zinc oxide particles prepared by dissolving the zinc compound precipitate with 14%HCl had round shape with particle sizes of 50-100 nm while the flake-like shape particles with 100-400 nm diameter were obtained when the zinc compound was dissolved in 5%H2SO4. The results from antimicrobial activity tests indicated that 5% zinc oxide-filled silicone specimen had good inhibiting properties for Staphylococcus aureus and Escherichia coli. | en_US |
dc.description.sponsorship | กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | สังกะสีออกไซด์ | en_US |
dc.subject | การชุบสังกะสี | en_US |
dc.title | การเตรียมอนุภาคซิงค์ออกไซด์จากของเสียในกระบวนการชุบสังกะสี : รายงานวิจัย | en_US |
dc.title.alternative | Preparation of zinc oxide particles from galvanizing waste | en_US |
dc.type | Technical Report | en_US |
dc.email.author | [email protected] | - |
dc.email.author | [email protected] | - |
Appears in Collections: | Metal - Research Reports |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Pranee_ra_res.pdf | 2.1 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.