Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5368
Title: | การพัฒนาระบบแทรกคำบรรยายภาพโดยใช้คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล |
Other Titles: | Development of a caption inserting system using a personal computer |
Authors: | ชยสร สวนสมจิตร |
Advisors: | เอกชัย ลีลารัศมี |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
Advisor's Email: | [email protected] |
Subjects: | ระบบคำบรรยายแบบซ่อนได้ เครื่องเข้ารหัสคำบรรยายภาพแบบซ่อนได้ รายการโทรทัศน์ |
Issue Date: | 2545 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | วิทยานิพนธ์นี้นำเสนอการพัฒนาระบบแทรกคำบรรยายภาพแบบซ่อนได้ โดยแบ่งเป็น 2 ส่วน ได้แก่ เครื่องเข้ารหัสคำบรรยายภาพแบบซ่อนได้ และโปรแกรมช่วยสร้างคำบรรยาย เครื่องเข้ารหัสคำบรรยายภาพแบบซ่อนได้สามารถแทรกรหัสคำบรรยายตามมาตรฐาน PAL 18 Closed Caption Video และอ่านรหัสเวลาแบบ LTC เพื่อใช้กำหนดเวลาของคำบรรยายได้ สัญญาณวีดิทัศน์ขาออกของเครื่องเข้ารหัสถูกออกแบบให้มีคุณภาพสำหรับงานออกอากาศ ส่วนโปรแกรมช่วยสร้างคำบรรยายสามารถสร้างแฟ้มคำบรรยายภาษาไทย-อังกฤษ, จำลองผลการแทรกคำบรรยาย และควบคุมเครื่องเข้ารหัสคำบรรยายได้ ระบบที่พัฒนาขึ้นถูกทดสอบและเปรียบเทียบกับผลิตภัณฑ์ที่มีขายตามท้องตลาดต่างประเทศ เครื่องเข้ารหัสคำบรรยายที่พัฒนาขึ้นมีค่าความไหวทางเวลาต่ำกว่า 11.2 ns ผลต่างอัตราขยายมีค่า 0.9% ผลต่างเฟสมีค่า 0.7 ํ และมีการเบี่ยงเบนสูงสุดของอัตราขยายในช่วงความถี่ 150 kHz ถึง 5.8 MHz เท่ากับ 1.07 dB |
Other Abstract: | This thesis presents a development of a closed caption system, which consists of two parts: the closed caption encoder and the captioning software. The encoder is able to insert close caption data according to PAL 18 closed caption video specifications and can also read LTC time code from a videotape for synchronization with caption data. In addition, its output video signal quality is designed for broadcast video applications. The captioning software includes three functions: the Thai-English caption file creation, the caption display simulation and the caption encoder control. The testing results of the prototyped system are compared to commercial captioning systems. The developed encoder has an insertion jitter of less than +/-11.2 ns, 0.9% differential gain and 0.7 ํ differential phase. Its maximum gain deviation in the frequency range of 150 kHz to 5.8 MHz is 1.07 dB. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 |
Degree Name: | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | วิศวกรรมไฟฟ้า |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5368 |
ISBN: | 9741797508 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Chayasorn.pdf | 6 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.