Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/57252
Title: | ความสัมพันธ์ของเพศ วัย และระดับการศึกษาที่มีต่อระดับจรรยาวิพากษ์ของวัยรุ่นตอนปลาย ผู้ใหญ่ตอนต้น ผู้ใหญ่ตอนกลาง และผู้สูงอายุ ในกรุงเทพมหานคร |
Other Titles: | Relationships of gender, age, and educational level on the moral judgment of late adolescents, young adults, middle adults, and late adults in Bangkok |
Authors: | สุทธิมา ห่อบุตร |
Advisors: | พรรณทิพย์ ศิริวรรณบุศย์ |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา |
Advisor's Email: | [email protected] |
Subjects: | วัยรุ่น -- แง่ศีลธรรมจรรยา ผู้ใหญ่ -- แง่ศีลธรรมจรรยา จรรยาวิพากษ์ Adolescence -- Moral and ethical aspects Adulthood -- Moral and ethical aspects Judgment (Ethics) |
Issue Date: | 2549 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | ศึกษาความสัมพันธ์ของเพศ วัยและระดับมัธยมศึกษาที่มีต่อระดับจรรยาวิพากย์ของวัยรุ่นตอนปลาย วัยผู้ใหญ่ตอนต้น วัยผู้ใหญ่ตอนกลาง และวัยสูงอายุ กลุ่มตัวอย่างอายุ 16-70 ปี จำนวน 600 คน ในกรุงเทพมหานคร เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบวัด The Defining issues test ของ Rest (1986) ซึ่งผู้วิจัยได้ปรับเปลี่ยนสถานการณ์สมมติให้เหมาะสมกับสถานการณ์และวัฒนธรรมไทยในปัจจุบัน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์คือ การวิเคราะห์ความแปรปรวนสามทาง (Three ways analysis of variance) ผลการวิจัยพบว่า 1. ชายและหญิงมีคะแนนจรรยาวิพากษ์ไม่แตกต่างกัน 2. วัยรุ่นตอนปลาย ผู้ใหญ่ตอนต้น ผู้ใหญ่ตอนกลางและผู้สูงอายุ มีคะแนนจรรยาวิพากษ์ไม่แตกต่างกัน 3. กลุ่มตัวอย่างที่มีระดับการศึกษาแตกต่างกัน มีคะแนนจรรยาวิพากษ์แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยมีแนวโน้มคะแนนจรรยาวิพากษ์สูงขึ้นตามระดับการศึกษา 4. พบอิทธิพลร่วมระหว่างวัยและระดับการศึกษา ที่ส่งผลต่อคะแนนจรรยาวิพากษ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 |
Other Abstract: | To study the relationships of gender, age, and educational level on the moral judgement of late adolescents, young adults, middle adults and late adults. The 600 samples were drawn from Bangkok resident whose age range of between 16-70 years old. The instrument was adapted version of "the defining issues test" adapted from the defining issues test of Rest (1986). The "three ways analysis of variance" was used to conduct the statistic analysis. The results are as follows 1. There was no significant difference in genders among groups of subjects. 2. There was no significant difference among groups of late addolescents, young adults, middle adults and late adults. 3. There was a significant difference in educational levels (p<.01), an inclination of an increase in the level of moral judgment according to the educational level. 4. There was a significant interaction between ages and educational levels on moral judgment. (p<.01) |
Description: | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 |
Degree Name: | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | จิตวิทยาพัฒนาการ |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/57252 |
URI: | http://doi.org/10.14457/CU.the.2006.1280 |
ISBN: | 9741424981 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.14457/CU.the.2006.1280 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Psy - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
sutthima_ho_front.pdf | 918.07 kB | Adobe PDF | View/Open | |
sutthima_ho_ch1.pdf | 3.49 MB | Adobe PDF | View/Open | |
sutthima_ho_ch2.pdf | 1.14 MB | Adobe PDF | View/Open | |
sutthima_ho_ch3.pdf | 730.42 kB | Adobe PDF | View/Open | |
sutthima_ho_ch4.pdf | 579.74 kB | Adobe PDF | View/Open | |
sutthima_ho_ch5.pdf | 440.25 kB | Adobe PDF | View/Open | |
sutthima_ho_back.pdf | 1.8 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.