Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59389
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เพ็ชรพร เชาวกิจเจริญ | - |
dc.contributor.advisor | ดาวัลย์ วิวรรธนะเดช | - |
dc.contributor.author | พิมลพันธ์ อุดทาพันธ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2018-09-05T04:55:12Z | - |
dc.date.available | 2018-09-05T04:55:12Z | - |
dc.date.issued | 2553 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59389 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553 | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสามารถในการกำจัดสังกะสี ตะกั่วและทองแดงในน้ำเสียสังเคราะห์โดยใช้กากโซดาไลต์และซีโอไลต์เอสังเคราะห์จากซิลิกา-อะลูมินาที่ใช้แล้ว ทำการทดลองแบบทีละเท โดยศึกษาปัจจัยต่างๆ ที่จะมีผลต่อการดูดซับโลหะหนัก ได้แก่ ความเข้มข้นของสารละลายโลหะหนัก ค่าพีเอช และระยะเวลาสัมผัส ผลการทดลองพบว่าความเข้มข้นที่เหมาะสมในการกำจัดสังกะสี ตะกั่ว และทองแดงด้วยกากโซดาไลต์และซีโอไลต์เอเท่ากับ 30, 30 และ 10 มิลลิกรัมต่อลิตร ตามลำดับ พีเอชที่เหมาะสมในการกำจัดสังกะสี ตะกั่ว และทองแดงด้วยกากโซดาไลต์และซีโอไลต์เอเท่ากับ 5, 4 และ 5 ตามลำดับ และระยะเวลาสัมผัสในการกำจัดสังกะสี ตะกั่ว และทองแดงสำหรับกากโซดาไลต์ เท่ากับ 60 นาที ส่วนซีโอไลต์เอ ระยะเวลาสัมผัสเท่ากับ 30 นาที ซึ่งกากโซดาไลต์สามารถกำจัดสังกะสี ตะกั่ว และทองแดงได้มากกว่าซีโอไลต์เอ โดยปริมาณสังกะสี ตะกั่ว และทองแดงที่ถูกกำจัดมีค่าเท่ากับ 306.12, 223.88 และ 58.48 มิลลิกรัมต่อกรัม และพบว่าในการกำจัดสังกะสี และทองแดง ด้วยกากโซดาไลต์และซีโอไลต์เอสอดคล้องกับไอโซเทอมการดูดซับแบบแลงเมียร์ ส่วนผลการทดลองแบบคอลัมน์ พบว่าความสามารถในการกำจัดสังกะสี ตะกั่วและทองแดง ของกากโซดาไลต์มีค่าใกล้เคียงกับซีโอไลต์เอ โดยกากโซดาไลต์หนึ่งกรัมสามารถกำจัดสังกะสี ตะกั่ว และทองแดงได้เท่ากับ 351, 310.5 และ 351 มิลลิกรัม ตามลำดับ และพบว่าซีโอไลต์เอหนึ่งกรัม สามารถกำจัดสังกะสี ตะกั่ว และทองแดง ได้เท่ากับ 310.5, 324 และ 310.5 มิลลิกรัม ตามลำดับ | en_US |
dc.description.abstractalternative | This research was carried out in order to investigate the adsorption efficiency of zinc removal by using sodalite and Na-A zeolite synthesized from spent silica–alumina. The experiment was carried out by using sodalite and Na-A zeolite as an adsorbent for removal of zinc, lead and copper from aqueous solution. The batch experiment was utilized to study the influential factors on removal of heavy metal which are namely concentration of heavy metal, pH and concentration. The results indicated that the optimum condition of zinc, lead and copper adsorption was at the concentration of 30, 30 and 10 ppm, respectively. The optimum was at pH 5, 4 and 5, respectively and the optimum contact time at 60 minutes for sodalite and 30 minutes for Na-A zeolite. The sodalite had higher adsorption capacities than Na-A zeolite for zinc, lead and copper. The adsorption capacities were at 306.12 mg zinc/g, 223.88 mg lead/g and 58.48 mg copper/g, respectively. The adsorption isotherm of zinc, lead and copper was related to Langmuir adsorption isotherm. The results obtained from column experiment reported that the adsorption capacity of sodalite was similar to that of Na-A zeolite. The maximum adsorption capacity of sodalite was at 351 mg zinc/g, 310.5 mg lead/g and 351 mg copper/g, respectively. The maximum adsorption capacity of Na-A zeolite was at 310.5 mg zinc/g, 324 mg lead/g และ 310.5 mg copper/g, respectively. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1594 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | น้ำเสีย -- การบำบัด -- การกำจัดโลหะหนัก | en_US |
dc.subject | ซีโอไลต์ | en_US |
dc.subject | ซิลิกา-อลูมินา -- การนำกลับมาใช้ใหม่ | en_US |
dc.subject | Sewage -- Purification -- Heavy metals removal | en_US |
dc.subject | Zeolites | en_US |
dc.subject | Silica-alumina -- Recycling (Waste, etc.) | en_US |
dc.title | การกำจัดโลหะหนักโดยใช้ซีโอไลต์สังเคราะห์จากซิลิกา-อะลูมินาที่ใช้แล้ว | en_US |
dc.title.alternative | Removal of heavy metal using zeolite synthesized from spent silica-alumina | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | [email protected] | - |
dc.email.advisor | [email protected] | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2010.1594 | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Pimonpan Uttapan.pdf | 2.57 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.