Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6296
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | กาญจนา จันทองจีน | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2008-03-19T07:39:14Z | - |
dc.date.available | 2008-03-19T07:39:14Z | - |
dc.date.issued | 2521 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6296 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้ได้พยายามแยกโปรตีนส่วนที่ไม่มีพิษออกจากพิษงูเห่าไทย (Naja naja siamensis) โดยใช้วิธีให้ความร้อน 80 เซลเซียส เป็นเวลา 20 นาที ในขณะที่สารละลายพิษงูอยู่ในสภาพเป็นกรดมี pH = 5.8 มีโปรตีนที่ถูกทำลายโดยความร้อนตกตะกอนลงมาเป็นจำนวน 35% ส่วนน้ำใส (supernatant) หรือเรียกว่า heated toxin มีโปรตีนเหลืออยู่ประมาณ 65% และส่วนนี้มีความเป็นพิษสูงกว่าพิษงูเห่าธรรมชาติ คือมีค่า LD[subscript 50] = 0.167 มิลลกรัมต่อหนู 1 กิโลกรัม (พิษงูเห่าธรรมชาติมีค่า LD[subscript 50] = 0.126 มิลลิกรัมต่อหนู 1 กิโลกรัม) แต่มีจำนวน LD[subscript 50] ในพิษงูส่วนนี้ลดลงไป 16.7% อาจเนื่องจากมีการสูญเสียโปรตีนไปในระหว่างขบวนการแยกโปรตีน จำนวน LD[subscript 50] หรือความเป็นพิษที่ได้กลับคืนมา 83.3% แล้วนำโปรตีนส่วนนี้ไปทำให้เป็นโพลิเมอร์ โดยใช้ glutaraldehyde และเปรียบเทียบกับพิษงูธรรมชาติ (unhented toxin) ที่อยู่ในรูปโพลิเมอร์ โดยใช้ glutaraldehyde เช่นเดียวกัน พบว่าโพลิเมอร์ของ heated toxin และ unheated toxin ไม่มีความเป็นพิษ แต่จากการทำ neutralization ในหลอดทดลองพบว่าโพลิเมอร์ของ heated toxin สามารถกระตุ้นให้หนู (Wistar Strain Rat) สร้างแอนติบอดี้ต่อพิษงูได้ และซีรั่มหนู 1 มิลลิลิตรสามารถทำลายพิษงูเห่าได้ 13.42 LD[subscript 50] ส่วนหนูที่ฉีดโพลิเมอร์ของ unheated toxin พบว่าสร้างแอนติบอดี้ได้ระดับต่ำมากจนไม่สามารถคำนวณค่าการทำลายพิษงูได้ และจากการทำ neutra lization ในสัตว์ทดลองพบว่าหนูที่ฉีดด้วยโพลิเมอร์ของ heated toxin ทนพิษงูได้ 8 LD[subscript 50] ส่วนหนูที่ฉีดด้วยโพลิเมอร์ของ unheated toxin ไม่สามารถทนพิษงูจำนวน 3 LD[subscript 50] ได้แต่การตายช้าลง | en |
dc.description.abstractalternative | To isolate the non-toxic protein., we heated the suspension of Thai cobra venom in acidic condition (pH 5.8) at 80 C for 20 min. The 35% precipitating protein was removed, and the rest 65% supernatant contained partially purified heat-stable toxin as named "heated toxin". Subsequently, the heated toxin was polymerized by 2.5% qlutaraldehyde. The heated toxin had higher toxicity than natural venom, having LD[subscript 50] = 0.167 mg/kg of mice (natural venom have LD[subscript 50] = 0.216 mg/kg of mice). The percentage of recovery of toxicity of heated toxin was 83.3 and 16.7% lost in the heating procedure. The polymer of heated toxin was found to be non-toxic, and inducedconsiderable anti-toxin anti body titer in Wistar strain rat. The polymer of unheated (natural) toxin was tested to the non-toxic, but inducedvery low anti-toxin anti body titer. In vitro neutralization show that 1 ml of serum from rats immunized with polymer of heated toxin neutralized maximally 13.42 LD[subscript 50] of cobra venom. WhileLD[subscript 50] value was not calculable when immunized polymer of unheated toxin. In vivo neutralization. , the group of rates immunized with heated toxin polymer withstood 8 LD(subscript 50], while those immunized with unheated toxin polymer could not withstand 3LD[subscript 50], but the death was delayed. | en |
dc.description.sponsorship | ทุนสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม บรมชนกนารถ | en |
dc.format.extent | 7826091 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | แอนติเจน | en |
dc.subject | พิษงูเห่า | en |
dc.subject | พิษสัตว์ | en |
dc.title | การเพิ่มประสิทธิภาพของการเป็นแอนติเจนของพิษงูเห่า | en |
dc.title.alternative | Method in increasing antigenic potency of cobra venom | en |
dc.type | Technical Report | es |
dc.email.author | [email protected] | - |
Appears in Collections: | Sci - Research Reports |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Kanchana(met).pdf | 7.64 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.