Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66478
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวัฒนา วงศ์เกียรติรัตน์-
dc.contributor.authorกรทิพย์ ศรีเรืองเมตตา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-06-18T08:02:00Z-
dc.date.available2020-06-18T08:02:00Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9741771622-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66478-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548-
dc.description.abstractสาระสำคัญของวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ที่ต้องการศึกษาว่าความสัมฤทธิ์ผลจากการนำแผนยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติจะมีความสัมพันธ์อย่างไรกับการนำปัจจัยเอื้อตามแนวทางการบริหารแบบบูรณาการมาใช้ โดยปัจจัยเอื้อที่สำคัญคือการกำหนดระเบียบบการมอบอำนาจและระเบียบการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการเพื่อสนับสนุนด้านทรัพยากรให้แก่ผู้ว่าราชการจังหวัด ซึ่งผู้วิจัยเห็นว่าปัจจัยเอื้อดังกล่าวจะมีส่วนสำคัญต่อความสำเร็จในระดับผลผลิตและผลลัพธ์จากการดำเนินงานโครงการภายใต้แผนยุทธศาสตร์ และวิธีการศึกษาวิจัยครั้งนี้จะทำการศึกษาแบบวิจัยเชิงคุณภาพ โดยทำการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์และการศึกษาเอกสาร เพื่อนำมาวิเคราะห์ถึงความสำเร็จหรือไม่สำเร็จของการดำเนินงานโครงการว่าจะมีความสัมพันธ์อย่างไรกับปัจจัยเอื้อดังกล่าว ผลการศึกษาพบว่าการดำเนินงานโครงการตามแผนปฏิบัติการแบบบูรณาการได้แสดงให้เห็นว่าผู้ว่าราชการจังหวัดยังไม่สามารถบริหารงานให้เกิดผลผลิต ผลลัพธ์ได้ทุกยุทธศาสตร์ที่วางไว้ เพราะปัจจัยเอื้อที่สำคัญอย่างนโยบายการมอบอำนาจยังไม่เอื้อต่อการทำงานภายใต้แผนยุทธศาสตร์ จึงแสดงให้เห็นถึงการขาดการบูรณาการของหน่วยงานต่าง ๆ นอกจากนี้ การดำเนินงานในบางโครงการยังไม่ได้เป็นไปตามแนวทางการปฏิบัติงานแบบบูรณาการเพราะยังพบถึงความซ้ำซ้อนกันระหว่างกิจกรรมของโครงการภายใต้วัตถุประสงค์เดียวกัน และบางโครงการนำแผนงานที่เป็นภารกิจประจำของหน่วยงานมาปฏิบัติซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ปัจจัยเอื้อตามแนวทางการบริหารจังหวัดแบบบูรณาการแต่อย่างใด รวมทั้งการปฏิบัติงานบางโครงการยังต้องการความร่วมมือจากหน่วยงานต่าง ๆ เข้ามาช่วยในระหว่างการดำเนินกิจกรรม แต่เป็นแค่การให้ความช่วยเหลือเท่านั้นยังไม่ได้แสดงให้เห็นถึงการปฏิบัติงานภายใต้แผนปฏิบัติการแบบบูรณาการที่ส่วนราชการต่าง ๆ จะมาวางแผนปฏิบัติงานร่วมกันเพื่อให้การดำเนินกิจกรรมภายใต้โครงการมีทั้งหน่วยงานที่รับผิดชอบหลักและหน่วยงานสนับสนุน ซึ่งสาเหตุสำคัญที่ทำให้ยังไม่เกิดการวางแผนงานในลักษณะดังกล่าวได้นั้น เพราะส่วนราชการต่าง ๆ ในจังหวัดยังคงมีวัฒนธรรมการปฏิบัติงานแบบดั้งเดิมที่ต้องการปฏิบัติงานแบบต่างฝ่ายต่างปฏิบัติงานผลการศึกษาที่ค้นพบในจังหวัดนครปฐมที่มีสัดส่วนของผลผลิตด้านการเกษตรสูงกว่าจังหวัดอื่นในกลุ่มจังหวัดภาคกลางตะวันตกยังไม่สามารถบรรลุผลสัมฤทธิ์ให้เกิดผลผลิตและผลลัพธ์ได้ในยุทธศาสตร์ด้านการเกษตร ย่อมแสดงนัยว่าให้แก่กลุ่มจังหวัดที่จังหวัดนครปฐมเป็นสมาชิกอยู่ได้ว่าความสัมฤทธิ์ผลจากการนำแผนยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติไม่อาจสำเร็จได้ด้วยจากการนำปัจจัยเอื้อมาใช้เพียงส่วนเดียว-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectการบริหารรัฐกิจ -- ส่วนภูมิภาค-
dc.subjectผู้ว่าราชการจังหวัด-
dc.subjectแผนพัฒนาจังหวัด-
dc.subjectการวางแผนพัฒนาระดับจังหวัด-
dc.subjectการวางแผนเชิงกลยุทธ์-
dc.subjectการปฏิรูประบบราชการ-
dc.subjectวัฒนธรรมองค์การ-
dc.titleการบริหารงานแบบบูรณาการของผู้ว่าราชการจังหวัด ภายใต้แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด : ศึกษากรณีจังหวัดนครปฐม (2546-2548)-
dc.title.alternativeGovernor's integrative administration under strategic provincial development plan : a case study of Nokhon Pathom Province (2003-2005)-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineรัฐประศาสนศาสตร์-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.email.advisor[email protected]-
Appears in Collections:Pol - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Korntip_sr_front_p.pdf904.09 kBAdobe PDFView/Open
Korntip_sr_ch1_p.pdf892.39 kBAdobe PDFView/Open
Korntip_sr_ch2_p.pdf2.41 MBAdobe PDFView/Open
Korntip_sr_ch3_p.pdf813.88 kBAdobe PDFView/Open
Korntip_sr_ch4_p.pdf4.75 MBAdobe PDFView/Open
Korntip_sr_ch5_p.pdf991.31 kBAdobe PDFView/Open
Korntip_sr_back_p.pdf1.07 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.