Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71270
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริชัย กาญจนวาสี-
dc.contributor.authorอาทิตยา ดวงมณี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-12-03T10:22:07Z-
dc.date.available2020-12-03T10:22:07Z-
dc.date.issued2540-
dc.identifier.isbn9746382845-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71270-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540en_US
dc.description.abstractการวิจัยครังน มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและวิเคราะห์ตัวบ่งชี้รวมสำหรับความเป็นเลิศทางวิชาการของสาขา วิชาทางการวิจัยการศึกษา ในมหาวิทยาลัยของรัฐ กลุ่มตัวอย่างของการวิจัยมี 3 กลุ่ม ประกอบด้วย กลุ่มผู้เชี่ยวราญ สำหรับคัดเลือกตัวบ่งชี้โดยใช้เทคนิคเดลฟาย จำนวน 17 คน กลุ่มหัวหน้าภาค/อาจารย์ในสาชาวิชาทางการวิจัยการศึกษา จำนวน 62 คน และกลุ่มผู้เรี่ยวราญสำหรับจัดอันดับความเป็นเลิศทางวิชาการของสาขาวิราทางการวิจัยการศึกษาจำนวน 7 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยทารส่งแบบสอบถามด้วยตนเองและทางไปรษณีย์ วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาฉันทามติ ของการคัดเลือกตัวบ่งชี้โดยใช้ฐานนิยม มัธยฐาน พิสัยระหว่างควอไทล์ วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาน้ำหนักคะแนนความสำคัญของตัวบ่งชี้โดยการคำนวณค่ามัชฌิมเลขคณิต วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาความสอดคล้องของการจัดอันดับระหว่างผู้เชี่ยวชาญด้วยการทดสอบ Kendall’ W โดยใช้สถิติทดสอบไคลแควร์ และวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อตรวจสอบความตรงของตัวบ่งชี้ โดยหาความสัมพันธ์ระหว่างอันดับความเป็นเลิศทางวิชาการที่ใด้จากตัวบ่งชี้รวมที่พัฒนาขึ้นกับอันดับความเป็นเลิศทางวิชาการที่ได้จากผู้เชี่ยวชาญด้วยการทดสอบหาค่าสหสัมพันธ์ของสเปียร์แมน ผลการวิจัยสรุปใด้ ดังนี้ 1. ผลทารพัฒนาตัวบ่งชี้รวม พบว่า ได้ตัวบ่งชี้รวมทั้งหมด 6 มิติ/องค์ประกอบของความเป็นเลิศทางวิชาการ มีตัวบ่งชี้ย่อย 61 ตัวบ่งชี้ ประกอบด้วย ตัวบ่งชี้ด้านคุณภาพอาจารย์ 16 ตัวบ่งชี้ ด้านการวิจัย/ผลงาน ทางวิชาการของอาจารย์ 9 ตัวบ่งชี้ ด้านทรัพยากรสนับสนุนทางวิชาการ 8 ตัวบ่งชี้ ด้านคุณภาพนิสิต/นักศึกษา 12 ตัวบ่งชี้ : ด้านหลักสูตรที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน 7 ตัวบ่งชี้ และด้านภาวะผู้นำทางวิชาการของหัวหน้า ภาค/สาขาวิชา 9 ตัวบ่งชี้ จำแนกตัวบ่งชี้ตามระบบการศึกษาได้เป็นตัวบ่งชี้ด้านปัจจัยนำเข้า 16 ตัวบ่งชี้ ตัวบ่งชี้ด้านกระบวนการ 27 ตัวบ่งชี้ และตัวบ่งชี้ด้านผลผลิต 18 ตัวบ่งชี้ 2. ผลการวิเคราะห์ความเป็นเลิศทางวิชาการตามตัวบ่งชี้รวม สามารถจัดอันดับความเป็นเลิศทางวิชาการ ของสาขาวิชาทางการวิจัยการศึกษา ในมหาวิทยาลัยของรัฐ ในภาพรวมตามลำดับได้ดังนี้ UA, UC, UH, UE, UD, UF, UB และ UG-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to develop and analyze the composite indicators for academic excellence in the programs of Educational Research in the state Universities. The three groups of samples consisted of seventeen experts who helped screening the indicators through Delphi Techniques, sixty - two faculty staff members and the heads of the department of Educational Research and seven experts ranking the academic excellence in the programs. The data were collected by self - administered and mailed questionnaires, and analyzed to get consensus in the selection of indicators by using mode, median and interquartile range. The analyses to obtain the weight of indicators and concordance of ranking among experts were arithmetic mean and Kendall' W using X2 respectively. The composite indicators were validated by computing the Spearman Rank Correlation between the academic excellence ranks obtaining from the composite indicators and from the experts. Major results of the study could be summarized as follows : 1. The developed composite indicators consisted of six factors of academic excellence and sixty - one indicators. There were 16, 9, 8, 12, 7 and 9 indicators for the quality of faculty staff members, faculty research productivity, supporting academic resource, student quality, curriculum and instruction, and academic leadership of the department heads. These indicators were classified as 16 input indicators, 27 process indicators and 18 output indicators. 2. The overall academic excellence ranks of the Programs of Educational Research in the state Universities obtaining from developed composite indicators were UA, UC, UH, UE, UD, UF, UB and UG.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectตัวบ่งชี้ทางการศึกษาen_US
dc.subjectการศึกษา -- วิจัยen_US
dc.subjectสถาบันอุดมศึกษา -- ไทยen_US
dc.subjectEducational indicatorsen_US
dc.subjectEducation -- Researchen_US
dc.subjectUniversities and colleges -- Thailanden_US
dc.titleการพัฒนาตัวบ่งชี้รวมสำหรับความเป็นเลิศทางวิชาการ ของสาขาวิชาทางการวิจัยการศึกษาในมหาวิทยาลัยของรัฐen_US
dc.title.alternativeA development of composite indicators for academic excellence in the programs of educational research in the state universitiesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิจัยการศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisor[email protected]-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Artittaya_du_front.pdfหน้าปกและบทคัดย่อ613.7 kBAdobe PDFView/Open
Artittaya_du_ch1.pdfบทที่ 1518.46 kBAdobe PDFView/Open
Artittaya_du_ch2.pdfบทที่ 23.07 MBAdobe PDFView/Open
Artittaya_du_ch3.pdfบทที่ 3959.83 kBAdobe PDFView/Open
Artittaya_du_ch4.pdfบทที่ 44.28 MBAdobe PDFView/Open
Artittaya_du_ch5.pdfบทที่ 51.35 MBAdobe PDFView/Open
Artittaya_du_back.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก4.78 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.