Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73874
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เริงเดชา รัตชตะโพธิ์ | - |
dc.contributor.author | สุธี ผลบำรุงวัชระ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2021-06-17T03:49:51Z | - |
dc.date.available | 2021-06-17T03:49:51Z | - |
dc.date.issued | 2528 | - |
dc.identifier.issn | 9745641154 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73874 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2528 | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้ เป็นการนำ เอาการวิเคราะห์และออกแบบระบบแผ่นพื้นคอนกรีต เสริม เหล็กด้วยทฤษฎียีลด์ไลน์มาประยุกต์กับไมโครคอมพิวเตอร์ โดยทำการศึกษาออกแบบแผ่นพื้นสี่เหลี่ยมผืนผ้าสองทางรวม 7 ชนิด ลักษณะของแผ่นพื้นที่พิจารณามีช่อง เปิดอิสระรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า (Free rectangular openings) ขนาดใด ๆ วางอยู่ในตำแหน่งต่าง ๆ ของแผ่นพื้นและมีที่รองรับ เป็นแนวเส้น ในกรณีแผ่นพื้นไม่มีช่อง เปิดอาจมีขอบอิสระ(Free edges) รวมอยู่ด้วย ในการวิเคราะห์แรงดัดต้านทานประลัยที่จะนำไปออกแบบแผ่นพื้น ได้ใช้วิธีงาน เสมือน โดยคำนวณแบบทำซ้ำ สภาพการใช้งานของแผ่นพื้น สมมุติ ให้น้ำหนักแผ่กระจายสม่ำเสมอกระทำบนแผ่นพื้น โดยอาจมีน้ำหนักแนว เส้นที่ขอบอิสร ะหรือขอบของช่อง เปิดด้วย ในการออกแบบโดยทฤษฎียีลไลน์ เราไม่สามารถหาระยะโก่งและตรวจสอบการ แตกร้าวของแผ่นพื้นภายใต้น้ำหนักบริการได้ ตัวอย่างแผ่นพื้นซึ่งเสนอในงานวิจัยนี้จึงใช้มาตรฐานการออกแบบ ACI ปี 1983 ประกอบเป็นแนวทางในการตรวจสอบดังกล่าว โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ทำขึ้นในงานวิจัยนี้ เขียนเป็นภาษาแอปเปิลซอฟท์เบสิค มีการทำงานในลักษณะถาม-ตอบ ตัวโปรแกรมจะมีความยืดหยุ่นพอสมควร ผู้ใช้โปรแกรมสามารถเปลี่ยนช่วงการเปลี่ยนคำตัวแปรในการคำนวณแบบทำซ้ำและตัวเลขเกี่ยวกับมาตรรานการออกแบบที่กำหนดไว้ในโปรแกรมได้บางตัว ผลลัพธ์ที่ได้จากโปรแกรมคอมพิวเตอร์จะเป็นความหนาของแผ่นพื้น พื้นที่หน้าตัดเหล็ก เสริม ความยาวของเหล็กบน ตลอดจนการจัดเหล็กที่ตำแหน่งต่าง ๆ งานวิจัยนี้ทำให้สามารถออกแบบระบบแผ่นพื้นคอนกรีต เสริมเหล็กได้กว้างขวางกว่าใช้ทฤษฎีอีลาสติคหรือวิธีที่มาตรฐานการออกแบบ เช่น ACI แนะนำให้ใช้ ซึ่งโดยทั่วไปแล้วมักจำกัดให้ใช้ได้กับแผ่นพื้นสี่เหลี่ยมผืนผ้ารับน้ำหนักแผ่กระจายสม่ำเสมอเท่านั้น จากการเปรียบเทียบตัวอย่างการออกแบบแผ่นพื้นโดยทฤษฎียีลด์ไลน์ซึ่งเป็นทฤษฎีขอบเขตบน กับการใช้ทฤษฎีอีลาสติคซึ่งเป็นทฤษฎีขอบเขตล่างและการใช้วิธีในมาตรฐานสำหรับอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก 2517 ของ วสท. พบว่าการใช้ทฤษฎียีลด์ไลน์จะประหยัดเหล็กกว่า | - |
dc.description.abstractalternative | Analysis and design of reinforced concrete slab systems based on yield-line theory by a microcomputer are presented in this research. Seven types of supported rectangular slabs with free rectangular openings of any size and located in any position are considered. Slabs without openings may include free edges. In order to analyse a given slab for design ultimate moments of resistance, an iterative procedure using virtual work is employed. At service conditions, loading on the slab is assumed be uniformly stributed with line loads acting at free edges or free openings. Since deflection and cracking under service loads can not be predicted by the yield-line design method, the serviceability requirements of the1983 ACI Building Code were followed in all design example of this study. An interactive computer programme written in Applesoft BASIC was developed in this research. The programme is flexible enough to allow the user to change the step sizes for iterative solution of the unknown variables and certain parameters pertaining to the code of practice incorporated in the program. Output from the computer programme includes slab thickness, reinforcement area, top steel length and arrangement of reinforcement. This research permits design of reinforced concrete slabs more complicated than would be possible by elastic theory and by the design procedures suggested in design codes such as the ACI. Normally code procedures are limited to uniformly load rectangular slabs. By comparing example slabs designed by using the yield-line theory (which is an upper bound approach) and those using elastic theory (which is a lower bound approach) with those using a design method in the 1974 E.I.T. Standard for Reinforced Concrete Buildings, it was shown that use of the yield-line theory leads to better reinforcement economy. | - |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.1985.6 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | คอนกรีตเสริมเหล็ก | en_US |
dc.subject | ไมโครคอมพิวเตอร์ | en_US |
dc.subject | Reinforced concrete | en_US |
dc.subject | Microcomputers | en_US |
dc.title | การออกแบบแผ่นพื้นสี่เหลี่ยมผืนผ้าซึ่งมีช่องเปิด และที่รองรับเป็นแนวเส้นโดยทฤษฎียีลด์ไลน์ | en_US |
dc.title.alternative | Design of rectangular floor slabs with openings and line supports by yield-line theor | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมโยธา | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.1985.6 | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Sutee_ph_front_p.pdf | หน้าปกและบทคัดย่อ | 1.73 MB | Adobe PDF | View/Open |
Sutee_ph_ch1_p.pdf | บทที่ 1 | 913.02 kB | Adobe PDF | View/Open |
Sutee_ph_ch2_p.pdf | บทที่ 2 | 2.14 MB | Adobe PDF | View/Open |
Sutee_ph_ch3_p.pdf | บทที่ 3 | 1.17 MB | Adobe PDF | View/Open |
Sutee_ph_ch4_p.pdf | บทที่ 4 | 2.15 MB | Adobe PDF | View/Open |
Sutee_ph_ch5_p.pdf | บทที่ 5 | 3.74 MB | Adobe PDF | View/Open |
Sutee_ph_ch6_p.pdf | บทที่ 6 | 1.09 MB | Adobe PDF | View/Open |
Sutee_ph_back_p.pdf | บรรณานุกรมและภาคผนวก | 9.09 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.