Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75027
Title: | พัฒนาการของการศึกษาวิชาชีพดนตรีไทยในสมัยรัตนโกสินทร์ |
Other Titles: | Development of professional education in Thai classical music in Rattanakosin period |
Authors: | มาศสุภา สีสุกทอง |
Advisors: | ไพฑูรย์ สินลารัตน์ สุกรี เจริญสุข |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย |
Advisor's Email: | [email protected] ไม่มีข้อมูล |
Subjects: | ดนตรีไทย การศึกษาทางวิชาชีพ Professional education |
Issue Date: | 2531 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาความเป็นมาของการศึกษาวิชาชีพคนตรีไทยในสมัย รัตนโกสินทร์ และปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาวิชาชีพคนตรีไทย ผู้วิจัยใช้วิธีการวิจัยเชิงประวัติศาสตร์ ผลการวิจัยสรุปได้ว่า การศึกษาวิชาชีพคนตรีไทยในสมัยรัตนโกสินทร์ แบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ ระยะแรก (พ.ศ. 2325-2475) เป็นการจัดการศึกษาโดยอิสระ ใช้บ้าน วัด และวัง เป็นสถานที่ ศึกษา วัตถุประสงค์ของการจัดการศึกษาเพื่อนดนตรีไปใช้บรรเลงประกอบพิธีกรรมต่าง ๆ การ เข้าศึกษาใช้วิธีไหว้ครู หลักสูตรเน้นการปฏิบัติเครื่องดนตรีเพื่อการนำไปใช้เป็นสำคัญ ส่วนการศึกษาใน ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2476-2529) เป็นการจัดการศึกษาในสถาบันการศึกษา เพื่อผลิตบุคลากรทางด้าน ดนตรีไทยให้กับหน่วยงานต่าง ๆ ของรัฐ การจัดและดำเนินการศึกษาในสถาบันการศึกษาต่าง ๆ ที่เปิด สอนวิชาชีพดนตรีไทย ในด้านการรับเข้าศึกษาใช้วิธีการสอบ หลักสูตรแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือเพื่อ ผลิตศิลปินทางด้านดนตรีไทย และเพื่อผลิตครูสอนดนตรีไทยให้กับสถาบันการศึกษาต่าง ๆ ปัจจัยที่สำคัญที่มีผลต่อการศึกษาวิชาชีพดนตรีไทยในสมัยรัตนโกสินทร์ คือ การให้การสนับสนุน ของผู้บริหารประเทศ การศึกษาวิชาชีพคนตรีไทยได้พัฒนาขึ้นมาตามความต้องการของผู้บริหารประเทศและ ความต้องการของหน่วยงานต่าง ๆ สิ่งสำคัญที่เป็นปัญหาต่อการศึกษาวิชาชีพคนตรีไทย คือ การถ่ายทอดที่มีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรไว้เป็นหลักฐานกับการไม่ได้คิดค้นสิ่งใหม่ ๆ ขึ้นมาแทนสิ่งที่สูญหายไป ทำให้ - การพัฒนาการศึกษาวิชาชีพคนตรีไทยไม่ได้พัฒนาขึ้นมากเท่าที่ควร การศึกษาวิชาชีพคนตรีไทยในอนาคต ควรจะมีหน่วยงานกลางที่รับผิดชอบในการประสานงาน เกี่ยวกับการจัดและดำเนินการศึกษาวิชาชีพคนตรีไทยในสถาบันอุดมศึกษาที่เปิดสอนวิชาชีพดนตรีไทย |
Other Abstract: | The aim of this research is to conduct a historical study of the vocational education in Thai classical music in the Rattanakosin period, and of the factors in relation to the study of the Thai classical music vocational education. For this purpose, the historical research method has been adopted. consequently, the results of this research can be summarized as follows: The study of Thai classical music during the Rattanakosin period could be divided into two phases. In the first phase (1782-1932), could be called as the independent education in Thai classical music, because it made use of homes, monasteries and palaces and teaching places. The main purpose of imparting the knowledge of the Thai music at that time was to enable students to perform music in various ceremonies, accompany with plays, entertain themselves, or just to enhance the dignity of the high society. The enrollment to this study was conducted by means of a ceremony of paying respect to the teacher. As a result, emphasis was mainly placed on the performance of musical instruments. Regarding the second phase (1933-1986) the teaching of Thai music was made in educational institutes in order to provide artists of the Thai classical music for various units of government, and now the Thai classical music is taught in various educational institutes. For enrollment, entrance examinations method has been adopted. The syllabus is divided into two categories to produce artists of the Thai classical music and to provide teachers of the Thai classical music for various educational institutions: The main factors contributing to the study of the Thai classical music in the Rattanakosin period depended on the generous support rendered by the administrators of the state. The study of the Thai classical music has developed with the dictates of the requirements of state administrators and the various government agencies. The important problem to the study of the Thai classical music is to impart musical knowledge verbally without written records and not seeking innovations to replace what has been lost, thus causing the study of the Thai music not to develop as it should Regarding the study of the Thai music in the future, a responsible government agency hould be established to coordinate the study of the Thai classical music in higher educational institutes where the Thai classical music is taught. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2531 |
Degree Name: | ครุศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | อุดมศึกษา |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75027 |
ISBN: | 9745693278 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Masupa_sr_front_p.pdf | 930.08 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Masupa_sr_ch1_p.pdf | 1.76 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Masupa_sr_ch2_p.pdf | 1.73 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Masupa_sr_ch3_p.pdf | 4.91 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Masupa_sr_ch4_p.pdf | 2.09 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Masupa_sr_ch5_p.pdf | 2.2 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Masupa_sr_ch6_p.pdf | 1.28 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Masupa_sr_back_p.pdf | 5.36 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.