Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10307
Title: การอบรมเลี้ยงดูบุตรของสตรีไทยเชื้อสายจีนในกรุงเทพมหานคร
Other Titles: The child socialization of Chinese Thai women in Bangkok
Authors: จินตนา งามสว่าง
Advisors: งามพิศ สัตย์สงวน
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์
Advisor's Email: [email protected]
Subjects: ชาวจีน -- ไทย
เด็ก -- การดูแล -- ไทย
สตรี -- ไทย -- กรุงเทพฯ
Issue Date: 2542
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยทางมานุษยวิทยา เรื่อง การอบรมเลี้ยงดูบุตรของสตรีไทยเชื้อสายจีนในกรุงเทพมหานครนี้ มุ่งตอบคำถามหลักที่ว่า มารดาเหล่านี้ประสบความสำเร็จในการอบรมเลี้ยงดูบุตรหรือไม่ ข้อมูลที่ใช้ในการพิสูจน์สมมติฐานได้มาจากการศึกษาสตรีไทยเชื้อสายจีน จำนวน 20 คน จากส่วนต่างๆ ของกรุงเทพมหานคร ด้วยวิธีการสัมภาษณ์เจาะลึก การสังเกตสภาพแวดล้อมตามแนวทางมนุษยวิทยา และการทบทวนเอกสารที่เกี่ยวข้องต่างๆ การศึกษาครั้งนี้มีสมมติฐานนำทางทางการศึกษาอยู่ 5 สมมติฐาน สมมติฐานที่ได้รับการสนับสนุนว่าถูกต้องมี 3 สมมติฐานคือ 1) มารดาที่มีการศึกษาสูงจะประสบความสำเร็จในการเลี้ยงดูบุตรมากกว่ามารดาที่มีการศึกษาต่ำ 2) มารดาที่มีฐานะทางเศรษฐกิจมั่นคงจะประสบความสำเร็จในการเลี้ยงดูบุตรมากกว่ามารดาที่มีฐานะทางเศรษฐกิจไม่มั่นคง และ 3) มารดาที่มีรายได้สูงจะประสบความสำเร็จในการเลี้ยงดูบุตรมากกว่ามารดาที่มีรายได้ต่ำ สำหรับวิธีการอบรมเลี้ยงดูบุตรนั้นมารดาโดยทั่วไปจะใช้วิธีการใช้เหตุผลและเป็นประชาธิปไตย ขณะที่บิดามักจะใช้วิธีที่ค่อนข้างเข้มงวด หลังจากอภิปรายผลการศึกษาแล้ววิทยานิพนธ์นี้ได้เสนอปัญหาที่ประสบระหว่างการศึกษา และข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ทั้งด้านทฤษฎีและปฏิบัติ
Other Abstract: The main objective of this anthropological study, the Child Socialization of Chinese Thai Woment in Bangkok Metropolis, is whether these mothers are successful in their children raising. By anthropological field work, 20 Chinese Thai women selected from various parts of Bangkok were interviewed in-depth, their surroundings observed and relevant literature solicited to be empirical data for the testing of stated hypotheses. 3 out of 5 hypotheses were supported by the solicited data, showing the influences of mother's high education, mother's high economic status and mother's high income level. For the method of raising children, mother utilized rational-democratic while father tended to strict measures. The thesis then concluded with useful recommendations, theoretically and practically.
Description: วิทยานิพนธ์ (สค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542
Degree Name: สังคมวิทยามหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: สังคมวิทยา
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10307
ISBN: 9743342885
Type: Thesis
Appears in Collections:Pol - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chintana_Ng_front.pdf938.08 kBAdobe PDFView/Open
Chintana_Ng_ch1.pdf864.01 kBAdobe PDFView/Open
Chintana_Ng_ch2.pdf3.75 MBAdobe PDFView/Open
Chintana_Ng_ch3.pdf1.58 MBAdobe PDFView/Open
Chintana_Ng_ch4.pdf8.03 MBAdobe PDFView/Open
Chintana_Ng_ch5.pdf1.27 MBAdobe PDFView/Open
Chintana_Ng_ch6.pdf772.87 kBAdobe PDFView/Open
Chintana_Ng_back.pdf1.69 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.