Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11255
Title: การใช้ไดเบนซัลอะซิโทนเป็นตัวเร่งการสลายตัวด้วยแสง ของฟิล์มพอลิเอทิลีน
Other Titles: Use of dibenzalacetone as photosensitizer in the degradation of polyethylene films
Authors: วาสนา ชัยยะรุ่งโรจน์
Advisors: เสาวรจน์ ช่วยจุลจิตร์
ไพพรรณ สันติสุข
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Advisor's Email: [email protected], [email protected]
[email protected]
Subjects: ไดเบนซัลอะซิโทน
การสลายตัว
โพลิเมอร์เอทิลีน
Issue Date: 2540
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: ไดเบนซัลอะซิโทนถูกใช้เป็นสารเร่งการสลายตัวด้วยแสงในแผ่นฟิล์มพอลิเอทิลีน ในอัตราส่วนตั้งแต่ 0.05 ถึง 0.5 เปอร์เซ็นต์ ฟิล์มที่ได้ถูกนำมาทดลองใน 2 ภาวะเปรียบเทียบกัน คือ ในภาวะธรรมชาติโดยการตากแดดไว้กลางแจ้ง และในภาวะเร่ง โดยใช้เครื่องซีโนเทสต์เบตาแลมป์ หมู่คาร์บอนิลที่เกิดขึ้น (ค่าคาร์บอนิลอินเดกซ์) สามารถตรวจสอบได้ด้วยเครื่อง FTIR เพื่อใช้แสดงการแตกตัวในโครงสร้างทางเคมีของฟิล์มพอลิเอทิลีน นอกจากนี้ ได้หาความสัมพันธ์ระหว่างคาร์บอนิลอินเดกซ์และสมบัติเชิงกลกับเวลาที่ได้รับแสงทั้งสองภาวะ จากการวิจัยพบว่า ไดเบนซัลอะซิโทนสามารถนำมาใช้เป็นสารเร่งการสลายตัวด้วยแสง ในฟิล์มพอลิเอทิลีนทั้ง 2 ภาวะ และการสลายตัวจะเพิ่มขึ้นเมื่อปริมาณไดเบนซัลอะซิโทนเพิ่มขึ้น
Other Abstract: Degradation of polyethylene films with dibenzalacetone as photosensitizer was investigated. The amount of dibenzalacetone used was varied from 0.05 to 0.5%. Two methods were carried out simultaneously for comparison between outdoor exposure and simulated condition in Xenotest Beta Lamp machine. The amount of carbonyl group formation (carbonyl index), was studied by monitoring signals in FTIR and it was used as an indicator to represent the chemical structure break-down. The relationships of carbonyl index and mechanical properties with exposed time were studied in both conditions. It was found that dibenzalacetone can be used as photosensitizer in polyethylene films in both conditions and degradation of the film increased with increasing amount of dibenzalacetone.
Description: วิทยานิพนธ์ (วท.ม)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540
Degree Name: วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: วิทยาศาสตร์พอลิเมอร์ประยุกต์และเทคโนโลยีสิ่งทอ
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11255
ISBN: 9746371959
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wasana_Ch_front.pdf793.09 kBAdobe PDFView/Open
Wasana_Ch_ch1.pdf687.68 kBAdobe PDFView/Open
Wasana_Ch_ch2.pdf1.04 MBAdobe PDFView/Open
Wasana_Ch_ch3.pdf901.9 kBAdobe PDFView/Open
Wasana_Ch_ch4.pdf868.74 kBAdobe PDFView/Open
Wasana_Ch_ch5.pdf687.07 kBAdobe PDFView/Open
Wasana_Ch_back.pdf1.36 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.