Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19982
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปวีณา เชาวลิตวงศ์-
dc.contributor.authorสราวุธ เดชอินทรนารักษ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-06-02T09:18:43Z-
dc.date.available2012-06-02T09:18:43Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19982-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีจุดประสงค์ในการปรับปรุงประสิทธิภาพ การทำงานของพนักงานกิจกรรม กระบวนการไหลของสินค้าออกจากคลังสินค้า ซึ่งประกอบไปด้วย 4 ขั้นตอนคือ การหยิบ สินค้าออกจากคลังสินค้า การจัดเตรียมสินค้า การพักกองสินค้า และการยกสินค้าขึ้นรถบรรทุก โดยปัญหาดังกล่าวเกิดจาก ความไม่สัมพันธ์กันในแต่ละช่วงเวลาของภาระงาน กับกำลังพลที่ รับผิดชอบ จึงทำให้เกิดการใช้ทรัพยากรแรงงานที่เกินจำเป็น ทั้งนี้งานวิจัยฉบับนี้ได้ใช้ความรู้ใน ด้าน การจัดการกระบวนการไหลของสินค้าออกจากคลังสินค้า และ การจัดการกระบวนการไหล ของสินค้าและวัสดุ มาทำการออกแบบโครงสร้างกลุ่มงาน โดยมีการใช้มาตรฐานเวลาครบรอบ ปริมาณคำสั่งซื้อ และ แผนภูมิควบคุมเวลาจัดส่งสินค้า มาเป็นข้อมูลในการประเมินจำนวน พนักงาน และ จัดตารางการปฏิบัติงานของพนักงาน นอกจากนนี้ ยังได้ศึกษาแนวทางการ ออกแบบเครื่องมือควบคุมเวลา ซึ่งสามารถเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน และ ควบคุมเวลาใน การส่งมอบระหว่างกระบวนการได้ ผลงานวิจัยนี้ พบว่าการจัดตารางเวลาปฏิบัติงาน และการปรับแผนภูมิควบคุมการ จัดส่งสินค้า ในกิจกรรมกระบวนการไหลของสินค้าออกจากคลังสินค้า สามารถลดจำนวน พนักงานลงจาก 32 คน เหลือเพียง 22 คน และเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานรวมของพนักงาน จาก 64.5% เป็น 93.8% โดยยังคงบรรลุวัตถุประสงค์ที่สำคัญที่สุดของกิจกรรมกระบวนการไหล ของสินค้าออกจากคลังสินค้า คือ การส่งมอบสินค้าได้ตรงเวลาen
dc.description.abstractalternativeThe propose of this study is to improve the efficiency of warehouse outbound operation consisting of 4 elements: order picking, packing, staging, and loading. The problem occurs from the in-efficient workload allocation, which is the main cause of waste consumption over labor and other resources. Therefore, knowledge of warehousing management and material flow management bring to the group of manpower classification. Moreover, the standard cycle time, customer order and shipping control chart are using for evaluating the work-load, scheduling and controlling the production. These lead to the ability to control labor efficiency and delivery time in each processes.The result of this thesis shows that job scheduling method and shipping control chart adjustment in warehouse outbound operation are able to reduce manpower form 32 to 22 operators and increase the total efficiency of warehousing manpower from 64.5% to 93.8%. Moreover these methodology stills success in delivery on time which is the most important objective in warehouse outbound operation.en
dc.format.extent4312945 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.177-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectคลังสินค้าen
dc.subjectการจัดการคลังสินค้าen
dc.titleการปรับปรุงประสิทธิภาพของกระบวนการไหลของสินค้าออกจากคลังสินค้าen
dc.title.alternativeEfficiency improvement of warehouse outbound operationen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisor[email protected]-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.177-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
sarawuth_de.pdf4.21 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.