Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24089
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พิพัฒน์ พัฒนผลไพบูลย์ | |
dc.contributor.advisor | สนิท อักษรแก้ว | |
dc.contributor.author | ฐานนันท์ ประทุมมินทร์ | |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | |
dc.date.accessioned | 2012-11-14T12:33:09Z | |
dc.date.available | 2012-11-14T12:33:09Z | |
dc.date.issued | 2545 | |
dc.identifier.isbn | 9741712812 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24089 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 | en |
dc.description.abstract | การเติบโตทางเส้นผ่านศูนย์กลางที่คอราก ความสูง มวลชีวภาพ การสะสมคาร์บอนและการดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ ของพันธุ์ไม้ป่าชายเลนที่ปลูกบนพื้นที่นากุ้งร้าง ได้ศึกษาในพื้นที่อำเภอขนอมจังหวัดนครศรีธรรมราช โดยศึกษาพันธุ์ไม้ 4 ชนิด คือ โกงกางใบเล็ก (Rhizophora apiculata) แสมทะเล (Avicennia marina) ถั่วขาว (Bruguiera cylindrical) และ โปรงแดง (Ceriops tagal) ซึ่งมีอายุ 7 ปี หลังจากศึกษาการเติบโต โดยการสุ่มวัดไม้ชนิดละ 300 ต้น พบว่า ความสูงเฉลี่ยของโกงกางใบเล็กมีค่ามากที่สุด (3.96 เมตร) รองลงมาคือ แสมทะเล (3.27 เมตร) โปรงแดง (2.43 เมตร) และถั่วขาว (2.39 เมตร) ตามลำดับ สำหรับเส้นผ่านศูนย์กลางที่คอราก พบว่าโกงกางใบเล็ก (8.12 เซนติเมตร) มีค่ามากที่สุด รองลงมาคือ แสมทะเล (7.50 เซนติเมตร) ถั่วขาว (6.90 เซนติเมตร) และโปรงแดง (6.28 เซนติเมตร) ตามลำดับ ส่วนมวลชีวภาพรวม พบว่า โกงกางใบเล็กมีมวลชีวภาพรวมมากที่สุด (20.56 ตัน/ไร่) รองลงมาคือ แสมทะเล (5.58 ตัน/ไร่) โปรงแดง (5.25 ตัน/ไร่) และถั่วขาว (4.39 ตัน/ไร่) ตามลำดับ การศึกษาอัตราการดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์โดยใช้เครื่อง LCA 3 ร่วมกับ Parkinson Leaf Chamber โดยศึกษา 2 ฤดู คือ ฤดูแล้ง (มีนาคม) และฤดูฝน (พฤศจิกายน) และศึกษาการสะสมคาร์บอน โดยใช้เครื่อง CHNO analyzer วิเคราะห์ปริมาณคาร์บอน จากการศึกษาพบว่าแสมทะเล มีอัตราการดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ เฉลี่ยสูงทั้งฤดูฝนและฤดูแล้ง (6.49 µmol m⁻²s⁻¹ ในฤดูฝนและ 4.42 µmol m⁻²s⁻¹ ในฤดูแล้ง) และการสะสมคาร์บอน ของโกงกางใบเล็ก (7.98 ตันคาร์บอนต่อไร่) มีค่ามากที่สุด รองลงมาคือ โปรงแดง (2.46 ตันคาร์บอนต่อไร่) แสมทะเล (2.27 ตันคาร์บอนต่อไร่) และถั่วขาว (2.24 ตันคาร์บอนต่อไร่) ตามลำดับ จากผลการศึกษาครั้งนี้ จะเป็นข้อมูลพื้นฐานในการพิจารณาคัดเลือกพันธุ์ไม้ป่าชายเลนในการปลูกฟื้นฟูนากุ้งร้างให้ประสบผลสำเร็จต่อไป | |
dc.description.abstractalternative | Growth including total height, diameter at root collar, biomass, carbon accumulation and carbon dioxide absorbtion were studied among the 4 mangrove species with 7 years old namely Rhizophora apiculata, Avicennia marina, Bruguiera cylindrical and Ceriops tagal planting on abandoned shrimp farm at Kanhom District, Nakhon Si Thammarat Province. Three hundred plants of each species were sampled for the growth measurement. Results showed that the highest average total height was found in R. apiculata (3.96 m) followed by A. marina (3.27m), C.tagal (2.43 m) and B. cylindrical (2.39 m), respectively. The highest average of diameter at root collar was found in R. apiculata (8.12 cm) followed by A. marina (7.50 cm), B. cylindrical (6.90 cm) and C. tagal (6.25 cm), respectively. The highest total biomass was found in R. apiculata (128.5 tonnes/ha) followed by A. marina (34.89 tonnes/ha) and C. tagal (32.81 tonnes/ha) and while B. cylindrical (27.44 tonnes/ha) had lowest total biomass. The carbon dioxide abosrbtion was measured by LCA 3 with Parkinson Leaf Chamber in November (wet season) and March (dry season). The carbon accumulation was measured by CHNO analyzer. The highest carbon dioxide absorbtion was found in A. marina with the value of 6.49 µmol m⁻²s⁻¹ in wet season , 4.42 µmol m⁻²s⁻¹ in dry season. The highest carbon accumulation was found in R.apiculata (49.88 tonnes carbon/ha) followed by C. tagal (15.38 tonnes carbon/ha) A. marina (14.18 tonnes carbon/ha) and B. cylindrical (14.00 tonnes carbon/ha), Respectively. This investigation will be considered in selecting suitable mangrove species to rehabilitate on abandoned shrimp farm successfully. | |
dc.format.extent | 3876101 bytes | |
dc.format.extent | 1351866 bytes | |
dc.format.extent | 8802209 bytes | |
dc.format.extent | 4705661 bytes | |
dc.format.extent | 8544659 bytes | |
dc.format.extent | 5809302 bytes | |
dc.format.extent | 1558696 bytes | |
dc.format.extent | 4539797 bytes | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | การสะสมคาร์บอนของพันธุ์ไม้ป่าชายเลนที่ปลูกบนพื้นที่นากุ้งร้างอำเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช | en |
dc.title.alternative | Carbon accumulation of mangrove species planted on abandoned shrimp farms in Kanhom District Nakhon Si Thammarat Province | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | วิทยาศาสตร์สภาวะแวดล้อม (สหสาขาวิชา) | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thananun_pr_front.pdf | 3.79 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Thananun_pr_ch1.pdf | 1.32 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Thananun_pr_ch2.pdf | 8.6 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Thananun_pr_ch3.pdf | 4.6 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Thananun_pr_ch4.pdf | 8.34 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Thananun_pr_ch5.pdf | 5.67 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Thananun_pr_ch6.pdf | 1.52 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Thananun_pr_back.pdf | 4.43 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.