Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56765
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอวยพร พานิช-
dc.contributor.authorเอกอมร เอี่ยมศิริรักษ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2018-01-11T06:51:16Z-
dc.date.available2018-01-11T06:51:16Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56765-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en_US
dc.description.abstractงานวิจัยชิ้นนี้เป็นการศึกษาเพลงประกอบภาพยนตร์ตามกรอบแนวคิดว่าทวิพากษ์ทางวาทศาสตร์ โดยใช้ลักษณะวาทวิพากษ์แนวเรื่องเล่า (Narrative Criticism) ในการตีความหมายการสื่อสารอารมณ์เพลง และรูปแบบแนวโน้มของเพลงประกอบภาพยนตร์ไทยที่รับรางวัลภาพยนต์แห่งชาติ (รางวัลสุวรรณหงส์) สาขารางวัลเพลงนำภาพยนตร์ยอดเยี่ยมที่จัดโดยสมาคมสมาพันธ์ภาพยนตร์แห่งชาติ ตั้งแต่ปี 2534-2549 รวมทั้งสิ้น 14 เพลง เพื่อให้ทราบถึงกลวิธีในการนำเสนอ อีกทั้งยังเป็นแนวทางในการสร้างสรรค์เพลงประกอบภาพยนตร์ให้มีคุณภาพ โดยใช้การวิเคราะห์ตามกรอบแนวคิดวาทวิพากษ์แนวเรื่องเล่าของวาทศาสตร์ และสนับสนุนผลการวิเคราะห์โดยการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ ผลการศึกษาพบว่า 1. เหตุการณ์ในเพลงประกอบภาพยตร์ที่จะได้รับรางวัลต้องเล่าเรื่องตามเหตุการณ์ หรือที่เรียยกว่า “แก่นของเรื่อง” และควรเป็นการเล่าเรื่องตามเหตุการณ์หลักทั้งหมด 2. เพลงประกอบภาพยนตร์ต้องสามารถเล่าแกนเรื่องได้ และต้องสื่อสารแก่นเรื่องไปยังผู้ฟัง ซึ่งควรเป็นการสื่อสารแก่นเรื่องทั้งหมดของภาพยนตร์ จะให้ผลที่ดีกว่าการนำเสนอเพียงบางส่วน 3. หากเพลงประกอบภาพยนตร์ที่ได้รับรางวัลต้องสามารถบอกเล่าเรื่องราวที่เกิดขึ้นกับตัวแสดงหลัก ซึ่งตัวแสดงหลักอาจเป็นผู้เล่าเรื่องเพียงคนเดียว หรือหลายคนก็ได้ 4. เพลงที่ถูกสร้างสรรค์ท่วงทำนอง เนื้อหา และเรียบเรียงน้ำหนักในการเล่าเรื่องให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน เปรียบเสมือนการย่อเรื่องสำคัญ และการหยิกยกไคลแมกซ์ของภาพยนตร์มาใส่ไว้ในเพลงประกอบภาพยนตร์ ทำให้ผู้ชมเกิดความรู้สึกร่วมและดิ่งลึกไปในการชมภาพยนตร์เรื่องนั้นได้ดียิ่งขึ้นen_US
dc.description.abstractalternativeThis research studies the Thai original soundtracks in the frame work of Rhetoric criticism by using Narrative criticism in translating, communicating the song emotions and figures the trend of Thai Original Soundtracks which achieve The Federation of National Film Association of Thailand award in the category of the best original song awards granted by Federation of National Producers of Thailand from the 1991 – 2006 totally 14 songs. The research objectives are to illustrate the presentation chain value process and furthermore characterize the qualified Thai original soundtracks composing ways by analyzing in the frame work of Rhetoric Narrative criticism and encouraging the results by interviewing the well-known specialist as our gratitude The research results indicate that 1. The awarded Thai original soundtracks should narrate the movie events or as called "Themes" and communicate through out all main themes of the movies in the song 2. The awarded Thai original soundtracks should contain the movie themes and Communicate the themes to the audience which ought to cover the entire themes than just depict partly. 3. The awarded Thai original soundtracks should narrate all events occurring to the lead actor or actress which can be focused on the one or more lead actors as wishes. 4. The well-composed song that consists of rhythmic and content weighting each theme in to the same direction is analogous as the conclusion of the movie main events and the illustration of the movie climax in the song will bring the audience sentimentally deep in to the movie context.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.2003-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเสียงประกอบในภาพยนตร์ -- ไทย -- การวิจารณ์และการตีความen_US
dc.subjectดนตรีประกอบภาพยนตร์ -- ไทย -- การวิจารณ์และการตีความen_US
dc.subjectFilm soundtracks -- Thailand -- Criticism and interpretationen_US
dc.subjectMotion picture music -- Thailand -- Criticism and interpretationen_US
dc.titleการวิพากษ์แนวเรื่องเล่าในเพลงประกอบภาพยนตร์ไทยen_US
dc.title.alternativeNarrative criticism in Thai original soundtracksen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวาทวิทยาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisor[email protected]-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.2003-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ekamorn_la_front.pdf970.06 kBAdobe PDFView/Open
ekamorn_la_ch1.pdf1.1 MBAdobe PDFView/Open
ekamorn_la_ch2.pdf2.67 MBAdobe PDFView/Open
ekamorn_la_ch3.pdf786.72 kBAdobe PDFView/Open
ekamorn_la_ch4.pdf15.26 MBAdobe PDFView/Open
ekamorn_la_ch5.pdf1.18 MBAdobe PDFView/Open
ekamorn_la_back.pdf1.67 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.