Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68779
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกาญจนา แก้วเทพ-
dc.contributor.authorปิยะพิมพ์ สมิตดิลก-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-10-27T08:57:04Z-
dc.date.available2020-10-27T08:57:04Z-
dc.date.issued2541-
dc.identifier.isbn9743323299-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68779-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์ลักษณะการเชื่อมโยงเนื้อหาระหว่างนวนิยาและละครโทรทัศน์ไทยในเรื่องทรายสีเพลิงและยามเมื่อลมพัดหวน และเพื่อวิเคราะห์ปัจจัยทีมีผลต่อการเชื่อมโยงเปลี่ยนแปลง ดัดแปลงเนื้อหา ระหว่างสื่อนวนิยายและสื่อละครโทรทัศน์ไทย การวิจัยในครั้งนี้ใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ โดยทำการศึกษาจากแหล่งข้อมูลที่เป็นเอกสาร เทปบันทึกภาพละครโทรทัศน์ เรื่องทรายสีเพลิง และยามเมื่อลมพัดหวน ตามเกณฑ์การวิเคราะห์ต่าง ๆ โดยอาศัยแนวคิดต่าง ๆ มาเป็นแนวทางในการวิเคราะห์ เปรียบเทียบ คือ แนวคิดเรื่ององค์ประกอบนวนิยาย แนวคิดเรื่ององค์ประกอบละครโทรทัศน์ แนวคิดเรื่องการผลิตรายการโทรทัศน์ ทฤษฎีการวิเคราะห์รายการโดยใช้การวิเคราะห์สูตร การวิเคราะห์การเล่าเรื่อง การวิเคราะห์การเชื่อมโยงเนื้อหา การวิเคราะห์ Convention/ Invention และแนวคิดเรื่องการดัดแปลงนวนิยายสู่ละครโทรทัศน์ ผลการวิจัยพบว่าจากการศึกษาวิเคราะห์ลักษณะการเชื่อมโยงเนื้อหาระหว่างนวนิยายและละครโทรทัศน์ ไทยในเรื่องทรายสีเพลิงและยามเมื่อลมพัดหวนพบว่ามีการเชื่อมโยงเนื้อหา ระหว่างนวนิยายและละครโทรทัศน์ดัง มีรายละเอียดเช่น การสร้างแนวคิดและภาพ การเล่าเรื่อง ตัวละครและการสร้างตัวละคร และรูปแบบโครงสร้างของนวนิยายและละครโทรทัศน์ สำหรับการเชื่อมโยงเนื้อหาระหว่างนวนิยายและละครโทรทัศน์สามารถแบ่งรูปแบบเป็นการเชื่อมโยงได้เป็นลักษณะดั้งเดิมที่เป็นจุดรวมของนวนิยายและละครโทรทัศน์ (Convention/Repetition) และลักษณะที่ถูกสร้างสรรค์ขึ้นใหม่ ซึ่งเป็นลักษณะที่แตกต่างระหว่างสื่อนวนิยายและสื่อละครโทรทัศน์ (Invention/Variation) โดยมีปัจจัยที่มีผลต่อการเชื่อมโยงเนื้อหาระหว่างนวนิยายและสื่อละครโทรทัศน์ได้แก่ธรรมชาติของสื่อ ระบบการสร้างดารา (Stardom) และความแตกต่างของประเภทรายการ (Genre)-
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study the form of intertextuality of novel between printed media and television soap opera and to study the factors related to this intertextuality between both media. The concept and theoretical framework of this research based on the Novel theory, Soap opera Production Theory, Genre Analysis such as Formula, Narration, Intertextuality and Convention/Invention Concept. This research included the study on documentary and video tapes of “Sai Sri Ploeng” and “Yam Mue Lom Phad Huan”. The research found that the Novel and television Soap opera has the intertext between each other such as Conceptualization & Visualization, Narration, Character and Characterization and Format of Novel and Soap Operas. The form of intertextuality can be divided by 2 perspectives : Convention/Repetition and Invention/ Variation. Factors related to this intertext could be attributed to Nature of media, Stardom and Difference between Genres.-
dc.language.isothen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectนวนิยายen_US
dc.subjectละครโทรทัศน์en_US
dc.subjectการเชื่อมโยงเนื้อหาen_US
dc.titleการเชื่อมโยงเนื้อหา "นวนิยาย" ในสื่อสิ่งพิมพ์และในสื่อละครโทรทัศน์en_US
dc.title.alternativeIntertextuality of novel between printed media and television soap operaen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการสื่อสารมวลชนen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisor[email protected]-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Piyapim_sm_front_p.pdf888.11 kBAdobe PDFView/Open
Piyapim_sm_ch1_p.pdf1.15 MBAdobe PDFView/Open
Piyapim_sm_ch2_p.pdf1.84 MBAdobe PDFView/Open
Piyapim_sm_ch3_p.pdf706.65 kBAdobe PDFView/Open
Piyapim_sm_ch4_p.pdf3.15 MBAdobe PDFView/Open
Piyapim_sm_ch5_p.pdf1.06 MBAdobe PDFView/Open
Piyapim_sm_ch6_p.pdf758.78 kBAdobe PDFView/Open
Piyapim_sm_back_p.pdf689.66 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.