Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7557
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสายใจ อินทรัมพรรย์-
dc.contributor.authorพรรณทิพย์ ต้นเถา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2008-07-14T09:50:25Z-
dc.date.available2008-07-14T09:50:25Z-
dc.date.issued2539-
dc.identifier.isbn9746360175-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7557-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539en
dc.description.abstractศึกษากลวิธีการอ่านตีความบทร้อยกรองภาษาไทย และเพื่อเปรียบเทียบการใช้กลวิธีในการอ่านตีความบทร้อยกรองภาษาไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่มีความสามารถในการอ่านแตกต่างกัน ตัวอย่างประชากรเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 478 คน ผู้วิจัยสร้างแบบวัดความสามารถในการอ่านตีความบทร้อยกรองภาษาไทยขึ้น 1 ฉบับ ซึ่งมีค่าความเที่ยง 0.83 นำมาทดสอบกลุ่มตัวอย่างประชากร แล้วแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มที่มีความสามารถสูงปานกลาง และต่ำ โดยการจัดตำแหน่งแบบเปอร์เซ็นไทล์ ได้นักเรียนกลุ่มที่มีความสามารถสูง 148 คน กลุ่มปานกลาง 185 คน และกลุ่มต่ำ 145 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถามการใช้กลวิธีการอ่านตีความบทร้อยกรองภาษาไทยที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ซึ่งมีค่าความเที่ยง 0.78 ผู้วิจัยได้รวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถามมาหาค่ามัชฌิมเลขคณิต ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และเปรียบเทียบการใช้กลวิธีการอ่านตีความบทร้อยกรอง ของนักเรียนทั้ง 3 กลุ่ม ด้วยวิธีการทดสอบค่าเอฟ (F-test) ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ใช้กลวิธีในการอ่านตีความในระดับน้อย เมื่อพิจารณากลวิธีแต่ละด้านพบว่า ใช้กลวิธีด้านการใช้เทคนิคต่างๆ ช่วยในการอ่าน อยู่ในระดับมาก แต่ใช้กลวิธีด้านการทำให้เกิดกระจ่างชัดและเข้าใจง่ายในการอ่าน ด้านการค้นหาความสัมพันธ์ของเนื้อเรื่อง และด้านการตรวจสอบความเข้าใจ อยู่ในระดับน้อย 2. การใช้กลวิธีด้านการใช้เทคนิคต่างๆ ช่วยในการอ่าน ระหว่างกลุ่มที่มีความสามารถสูงและต่ำ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แต่การใช้กลวิธีด้านการทำให้เกิดความกระจ่างชัดและเข้าใจง่ายในการอ่าน ด้านการค้นหาความสัมพันธ์ของเนื้อเรื่อง และด้านการตรวจสอบความเข้าใจของทั้ง 3 กลุ่ม ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05en
dc.description.abstractalternativeStudies Thai poetry interpretative reading strategies of mathayom suksa six students, and to compare the Thai poetry interpretative reading strategies of mathayom suksa six students with different reading competence. The samples of this research were 478 mathayom suksa six students. The researcher constructed a Thai poetry interpretative reading competence test to divide the samples were change into 3 groups according to their abilities namely high, moderate and low ability. The reliability of the test was 0.83. The reading ability scores of students were changed into percentiles. There were 148 high ability students, 185 moderate ability students and 148 low ability students. The instrument used in this research was the interpretative reading strategies questionnaire constructed by the researcher. The reliability of the questionniare was 0.78. The collected data were analyzed by means of arithmetic mean, standard deviation and F-test. The findings were as follows: 1. Mathayom suksa six students used interpretative reading strategies in Thai poetry at a low level. In considering each part, the use of Tecnical-Aids Moves was at a high level, but the use of Clarification and Simplification Moves, Coherence-Detecting Moves, and Monitoring Moves were at a low level. 2. The use of Technical-Aids Moves by high and low reading ability were significantly different at the .05 level. However the use of Clarification and Simplification Moves, Coherence-Detecting Moves, and Monitoring Moves of those three abilities were not siginificantly different at the .05 level.en
dc.format.extent1000328 bytes-
dc.format.extent730743 bytes-
dc.format.extent807382 bytes-
dc.format.extent821951 bytes-
dc.format.extent1248870 bytes-
dc.format.extent762049 bytes-
dc.format.extent778245 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectภาษาไทย -- การอ่านen
dc.subjectกวีนิพนธ์en
dc.subjectภาษาไทย -- การอ่านทำนองเสนาะen
dc.subjectการอ่านขั้นมัธยมศึกษาen
dc.titleการเปรียบเทียบกลวิธีการอ่านตีความบทร้อยกรองภาษาไทย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่มีความสามารถในการอ่านแตกต่างกันen
dc.title.alternativeA Comparison of Thai poetry interpretative reading strategies of mathayom suksa six students with different reading competenceen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการสอนภาษาไทยes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Phantip_To_back.pdf976.88 kBAdobe PDFView/Open
Phantip_To_ch5.pdf713.62 kBAdobe PDFView/Open
Phantip_To_ch4.pdf788.46 kBAdobe PDFView/Open
Phantip_To_ch3.pdf802.69 kBAdobe PDFView/Open
Phantip_To_ch2.pdf1.22 MBAdobe PDFView/Open
Phantip_To_ch1.pdf744.19 kBAdobe PDFView/Open
Phantip_To_front.pdf760 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.