Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68913
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorขวัญเรือน กิติวัฒน์-
dc.contributor.authorรวมพร ศรีสุมานนท์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-10-30T02:29:28Z-
dc.date.available2020-10-30T02:29:28Z-
dc.date.issued2541-
dc.identifier.isbn9746390429-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68913-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมาย เพื่อศึกษาถึงประเด็นเรื่องและองค์ประกอบด้านเนื้อหาและวิธีการสื่อความหมาย ของการเล่าเรื่อง โดยศึกษาจากรายการสัมภาษณ์ที่ออกอากาศปี พ.ศ. 2539 จำนวน 2 รายการ คือ รายการเฉียด และรายการเจาะใจ ผลการวิจัย พบว่าเนื้อหารายการเฉียดเป็นเรื่องเกี่ยวกับอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นกับผู้ให้ สัมภาษณ์จนเกือบเอาชีวิตไม่รอด มีสาเหตุเนื่องจากความประมาท และความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ รูปแบบการนำเสนอใช้การเชื่อมโยง เหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องทั้งหมดเข้าด้วยกัน โดยเริ่มต้นด้วยตอนจบของเรื่องด้วยการสรุปเรื่องราว แล้วจึงดำเนินการสัมภาษณ์ในลักษณะ ย้อนการลำดับเหตุการณ์ตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงสถานการณ์ที่ขมวดเข้าสู่จุดพลิก ผันของเรื่อง สำหรับรายการเจาะใจ พบเนื้อหาเรื่องชีวิตส่วนบุคคลประเด็นต่างๆ ทั้งการต่อสู้ชีวิต ผลงานความสำเร็จ การช่วยเหลือสังคมที่อยู่ในความสนใจของประชาชน ดังนั้นวิธีการเล่าเรื่อง จึงมีรูปแบบหลากหลาย สามารถแบ่งได้ 3 ลักษณะคือ 1. การเล่าเรื่องตามลำดับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น 2. เมื่อมีเหตุย่อมมีผลตามมา 3. ปัญหาและการแก้ปัญหา ทว่าลักษณะการเล่าเรื่องเสมือนการสนทนาจัดลำดับเรื่องราวในระหว่างการซักถาม และโต้ตอบ การนำเสนอรายการสัมภาษณ์ทั้ง 2 ได้ใช้การเข้ารหัสเทคนิคการผลิตรายการโทรทัศน์ด้วยองค์ประกอบด้านแสง สี เพื่อเสริมบรรยากาศ เสียง ช่วยเร้าอารมณ์และฉากที่แสดงถึงบรรยากาศของเวทีรายการสัมภาษณ์ ถ่ายทอดระหว่างผู้สัมภาษณ์ และผู้ให้สัมภาษณ์ พบว่า รายการเฉียดเน้นการเล่าเรื่องโดยการเข้ารหัสด้านเทคนิคโทรทัศน์ เพื่อเป็นสร้างบรรยากาศและอารมณ์ สำหรับรายการเจาะใจใช้รหัสด้านเทคนิคโทรทัศน์เพื่อเร้าอารมณ์ น้อยกว่า และให้ความสำคัญกับรูปแบบการนำเสนอที่มุ่งถ่ายทอดเนื้อหา-
dc.description.abstractalternativeThe content of "Jor Jai" program focused on personal life of the interviewees that are interested in various issues such as how they had struggled to become successful, how they had devoted to society . The strategies of story telling in this program can be categorized into three types as the followings: chronological order of situation, Cause and effects of the situation and problem and solution. However, the presentation of the story development seems to be natural conversation rather than scripting. Presentation of the two interview programs had used technique of television coding including lighting, colour, sound effect, scenery and properties to enhance the atmosphere of the interview where the conversation between interviewers and interviewees still be natural. By comparing, the television coding which lead to atmosphere and emotion was used in "Chiad" more than in “ Jor Jai" . Moreover, " Jor Jai" more emphasized on the content of the story-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเฉียด (รายการโทรทัศน์)en_US
dc.subjectเจาะใจ (รายการโทรทัศน์)en_US
dc.subjectการวิเคราะห์เนื้อหาen_US
dc.subjectการสัมภาษณ์en_US
dc.subjectรายการโทรทัศน์en_US
dc.subjectโทรทัศน์ -- การผลิตและการกำกับรายการen_US
dc.titleการวิเคราะห์การเล่าเรื่องทางโทรทัศน์ในรายการสัมภาษณ์en_US
dc.title.alternativeAn analysis of televisual narrative in interview programen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการสื่อสารมวลชนen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisor[email protected]-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Ruamporn_sr_front_p.pdf903.53 kBAdobe PDFView/Open
Ruamporn_sr_ch1_p.pdf1.58 MBAdobe PDFView/Open
Ruamporn_sr_ch2_p.pdf1.96 MBAdobe PDFView/Open
Ruamporn_sr_ch3_p.pdf776.42 kBAdobe PDFView/Open
Ruamporn_sr_ch4_p.pdf7.81 MBAdobe PDFView/Open
Ruamporn_sr_ch5_p.pdf1.58 MBAdobe PDFView/Open
Ruamporn_sr_back_p.pdf689.81 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.